แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน"

 

   

ค้นหา
ดู: 9043|ตอบ: 4
go

หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญาทุกคนต้องศึกษา [คัดลอกลิงค์]

Rank: 8Rank: 8

หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญาทุกคนต้องศึกษา
. v/ @# p0 g4 e- Z) V2 ^% D* ~6 e/ i- S" \! t" h/ d
เพื่อในการปฏิบัติกัมมัฏฐานเป็นไปอย่างก้าวหน้า นักเรียนอภิญญาทุกคนจะต้องศึกษาหลักสูตรปริยัติให้เข้าใจเสียก่อน นักปฏิบัติที่เน้นแต่ปฏิบัติกรรมฐานอย่างเดียว จะเจริญก้าวหน้าในสมาธิได้ช้ากว่า นักปฏิบัติที่ศึกษาปริยัติมาจนเข้าใจแล้ว ค่อยมาเน้นการปฏิบัติกรรมฐานทีหลัง เหตุที่เป็นแบบนี้เพราะ การศึกษาปริยัติเปรียบเสมือนเป็นการศึกษาแผนที่นำทาง $ Y7 {1 q6 L2 X2 m) y5 _+ G

: o0 ^: }! _( l6 I& A. R( U' v' Yก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติ นักปฏิบัติควรทำความเข้าใจกับเส้นทางที่จะมุ่งไปเสียก่อน ควรรู้ล่วงหน้าว่าจะต้องพบเจอกับสิ่งใดข้างทางบ้าง สิ่งใดที่จะเป็นอุสรรคขัดขวางการเดินทาง และจะต้องผ่านด่านทดสอบจิตใจอะไรบ้าง
2 ?- e! L# X9 a+ R2 e( X5 I% x7 x+ I
แผนที่ปริยัติถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้นักปฏิบัติรู้เส้นทางที่จะไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตนมุ่งหวัง และรู้ถึงสิ่งที่ตนจะต้องประสบล่วงหน้า รู้ที่จะเตรียมใจที่จะต้องฝ่าฟันไปให้ได้ เพื่อให้ได้สำเร็จอภิญญา 5 และ 6 และบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด (เป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย หรือเส้นชัยของนักเรียนอภิญญาทุกคน)6 x# s8 V/ f: H2 J
( p" ~( N; U, k- y
ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธคืออะไร?
9 R$ `8 `+ S& A5 P
9 o( }, U5 P# sศีล ๕ ประกอบด้วย
4 D1 |3 A7 R* }& g๑. ไม่ฆ่าสัตว์
  m% m& q6 h" `& z๒. ไม่ลักทรัพย์
3 Z1 P7 B) ~4 C3 _๓. ไม่ประพฤติผิดในกาม (ผิดลูก เมีย สามี คู่ครอง ของผู้อื่น)
3 b+ p% l6 B1 N8 B0 {! T๔. ไม่พูดโกหก
/ ]4 x! P, e( q๕. ไม่ดื่มสุราของมึนเมา

: z. T$ F7 k8 W5 o1 T3 ], N9 ~+ [4 [2 j' B& f
ศีล ๘ ประกอบด้วย9 j' U" t* y  A9 Z' m
๑. ) Z. R! z) O' D& t1 s& l
๒.
) z; p' I- f  O. `' G2 d# v8 q๓.
6 V4 C' [  B/ h% I๔.
" J) S( u7 V9 s" _: I๕.
6 H5 b9 O5 Z/ v" m7 U, F4 e3 L* A๖.
: d- O3 Z3 Z: J& s5 r๗.
. I6 P. i$ t% }' f๘.

9 E- m4 j. Z; f- k1 ^. e, H3 Y7 o/ _( [- y6 s
- นิวรณ์ ๕ (เครื่องกั้นขวางความดี)+ @2 Z# W# R4 h9 ]! K
ผู้ที่สามารถเอาชนะนิวรณ์ ๕ ได้ คือผู้ที่ได้ปฐมฌานเป็นอย่างต่ำ หากขณะนั่งสมาธิ ไม่ว่าผู้ฝึกจะมีภาพร่างกายแบบไหน ง่วงมากๆ เพลียมากๆ ฟุ้งซ่านมากๆ หลังจากเริ่มนั่งสมาธิแล้ว อาการง่วง อาการโกรธ อาการฟุ้งซ่านไม่ปรากฏ นั้นถึงจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าผู้ฝึกกรรมฐาน ฝึกได้ปฐมฌานเป็นอย่างต่ำแล้ว
. g) ?; ~! G* B/ S

, U% l8 j8 r* @; \6 T' M7 nกามฉันท์ คือ ความพึงพอใจในรูป รส กลิ่น เสียง โผฎฐัพพะ ธรรมารมณ์
! q. b' A3 E  n5 Kพยาบาท คือ การผูกใจเจ็บ หรือผูกอาฆาตผู้อื่น8 Q/ R  T# z" q) n$ f" Y' U( t# q. E
ถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาหาวนอน
. U6 U/ A2 z! G7 a1 @7 F9 Qอุทธัจจะ กุกกุจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน ความรำคาญ/ X& H' R# O6 w# F5 s5 s5 }5 F
วิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัยในผลการปฏิบัติ

$ L8 U% D5 w6 T3 V6 l! o3 f0 U( a* y4 f
อุปกิเลส (เครื่องที่ทำให้จิตเศร้าหมอง ๑๖ ประการ)8 Z$ a1 g5 J3 y7 d, Y" ]8 @
ผู้ที่สนใจการปฏิบัติทางจิต หรืออบรมสมาธิ ตามแนวของพระพุทธศาสนา ควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่จะนำมาซึ่งกิเลส หรือสิ่งที่ทำให้จิตใจตกต่ำ และเป็นเหตุทำให้+ v  f: B6 j/ m# U1 P! @
พลังจิตถดถอย หรือขุ่นมัว ฉะนั้นผู้ที่ปฏิบัติทุกท่านควรละทิ้ง หรือห่างไกลจากสิ่งเหล่านี้ แล้วท่านทั้งหลายจะพบกับความสุข ความเจริญก้าวหน้า

" D( X" a! _6 W& b' p๑. อภิฌาวิสมโลภะ คิดอยากได้ทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน
! V. ?9 R# a! `" Y๒. พยาบาท (โทสะ) มีใจเดือดร้อน ความอาฆาต ผูกใจเจ็บคิดร้ายแก่ผู้อื่น
/ ?7 w( L+ }3 U, m6 Y๓. โกธะ ความโกรธ อาการกำเริบพลุ่งขึ้นมาในใจ จากความไม่ชอบนั้นๆ แต่ยังไม่ถึงกับบันดาลโทสะ0 f6 ^3 b4 W3 H+ O. `( [. C0 [
๔. อุปนาหะ ความผูกใจโกรธ เพียงแต่ผูกใจไม่ยอมลืม แต่ไม่ถึงกับคิดทำร้ายเขา เพราะกำลังของกิเลสยังอ่อนกว่าความโกรธ
% ~# j2 J) o6 i4 E/ C2 d1 e๕. มักขะ ความลบหลู่คุณท่าน คือ ใครมีบุณคุณกับเรา แล้วไม่คำนึงถึงคุณท่าน เป็นการลบล้างหรือปิดซ่อนคุณท่าน หรือความดีของท่าน3 H6 Q* k7 Z5 ~- I
๖. ปลาสะ ความดีเสมอตัวท่าน เอาตัวเองเป็นใหญ่ แล้วไม่ย่อมให้ใครดีกว่าตน ข่มเหงรังแก
2 n, C% u- I1 }5 N๗. อิสสา ความริษยา เห็นใครดีกว่าก็ทนไม่ได้ เกิดความขุ่นมัวในจิต กลั่นแกล้งเขาทำให้เสื่อมเสีย
* g' v' J- X# @" H2 V๘. มิจฉริยะ ความตระหนี่เกินกว่าปกติ ตระหนี่ในทรัพย์ ตระหนี่ในความรู้
' W# N/ `3 D; `. u% G/ E: `; W' b๙. มายา มารยาเจ้าเล่ห์ แสดงออกได้ทุกรูปแบบ หาความจริงไม่ได้ หรือแสดงออกให้คนอื่นหลงใหล
% y4 s; [5 D# g1 \' W2 t๑๐. สาเถยยะ ความโอ้อวด หลอกหลวงเขา พูดจาเกินความจริง
7 |8 }! J6 z6 O* X4 p  V) {: p๑๑. ถัมภะ ความเป็นคนหัวดื้อ รั้น กระด้าง หัวแข็ง ไม่ยอมคนทั้งผิดและถูก  ^/ \) K/ t: |! j' x
๑๒. สารัมภะ ความแข่งดี ไม่ยอมลดละ มุ่งแต่จะเอาชนะฝ่ายเดียว ไม่ยอมแพ้
3 Z/ d1 d* g4 Q๑๓. มานะ ความถือตัวทะนงตน) M5 a4 Z2 T* M4 \$ Q" h4 z) Q+ H
๑๔. อติมานะ ความถือตัวว่าดียิ่งกว่าเขา ดูหมิ่น ยกตนข่มท่าน
9 V3 H0 [' e* w๑๕. มทะ ความมัวเมาในกิเลส เช่นบ้ายศ บ้าอำนาจ บ้าเงิน บ้าสมบัติ หลงยึดติดกับสิ่งเหล่านั้น) [  z4 c" L" y/ O7 S1 W
๑๖. ปมาทะ ความประมาทเลินเลิ่น ปล่อยสติให้คล้อยไปตามอำนาจของกิเลส จนได้รับทั้งความเสียหายต่อตนเอง และผู้อื่น นักปฏิบัติทุกท่าน + r" e, e! f+ a( X
เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ควรหลักเลี่ยงให้ห่างไกล หรือสละสลัดสิ่งเหล่านี้ออกไปจากกายและใจ เมื่อท่านทั้งหลายสละละทิ้งได้จริง เมื่อนั้นความสุขจะเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
9 M9 N- ?& Y0 [* v8 \) wและเป็นความสุขที่แท้จริง
- L: ~6 b8 Y6 N' G

( v3 q5 w# q3 E! L! Aอริยสัจ ๔ ได้แก่; Q4 X5 ?5 V3 c8 D0 E
๑. ทุกข์ คือ การทนได้ยาก, ^$ G# b- X+ C( p
๒. สมุทัย คือ เหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดทุกข์# l* t) Q( `9 M1 h: k
๓. นิโรธ คือ การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงความดับทุกข์ โดยการจะดับทุกข์ได้นั้นต้องอาศัย...
  t; u& J: @& p0 w: W1 c6 i๔. มรรคปฏิปทา มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น และมีสัมมาสมาธิเป็น ปริโยสาน

: _$ B( j7 p# G3 M  z9 L7 }2 ^3 X% W* Y. y
กฏไตรลักษณ์ ๓ ข้อ คือ
) Y! U1 x4 N0 X: p  t, j$ N๑. อนิจัง ร่างกายและทุกอย่างในโลกไม่เที่ยง) O9 K3 K- O2 G: K* V+ K
๒. ทุกขัง ถ้าไปยึดมั่นก็เป็นทุกข์
' r6 Z3 X1 m! h7 ^' Q๓. อนัตตา ในที่สุดก็พัง
- Z" i; p$ R! e- T) b! Z  n

- G& `& h5 j7 ~4 T0 J; `8 V
; _2 G0 \% \" x6 rสังโยชน์ ๑๐ ' ], L% ^( T9 a0 d8 Y  A. f" o- q
๑.
3 Q/ j1 e. X/ ~5 S$ v& s5 b๒.
- k5 o  L6 Q) D) M0 F๓. 2 U# {+ ]& \! ^' o6 _
๔. " p! Z2 \5 c7 [4 L9 P
๕. , e4 L' T$ F5 i* ^( O4 \
๖.
8 T: F2 X4 `% o0 N2 ~๗.
* a% ~% j" B. w' Z๘.7 i+ w# u/ m, d$ J9 j- w
๙. / o, k2 P2 m) B( C9 J5 ]; x" Y
๑๐. 6 p: k0 W3 ?3 k- ?8 M
7 c9 j6 i2 d& |! v
บารมี ๑๐
* ]8 b  j" p0 g# v/ K+ _+ h. ]$ X
๑., M! q+ h, l$ F' }  J
๒.6 l$ G! H$ ~- A% L% z5 K
๓.9 i8 l5 Y- F3 s* U! `6 E
๔.
# F$ R# Q* E9 ~! H- N๕.
- l  y, n$ f2 |3 @  c๖.( D! I! d- Y$ I7 z" ~% g$ P
๗.$ A) R' }. i- j8 g- p# w# q9 p- `
๘.
$ }" k3 t0 V- ~๙.5 k6 f8 R$ p+ a* K" V7 M7 W& B
๑๐. & i) o; x& u; v% E1 x
: `7 A7 S, a2 B4 e* K
สังขาร ๓ ได้แก่
: i, [/ a! e/ m/ ~7 Y
# S+ K5 J! o' H4 D8 m1 a% ^9 `. P
1 J) ~( j; N# [9 Z+ Z1 `3 |, ^

: j6 D# c/ e8 e* Q- P8 c4 w! F" Vกรรมฐาน ๔๐ กอง แบ่งเป็น ๗ กลุ่มประกอบด้วย
# L! ^" z/ p4 T" X" E- หมวดกสิน ๑๐ (๑-๑๐)

+ A2 ]" o  [. c' z& L2 y: D8 E- หมวดอสุภกรรมฐาน (๑๑ - ๒๐)
& y# N$ A: G- v) w: `$ f- หมวดอนุสสติกัมมัฏฐาน ๑๐ (๒๑ - ๓๑)
$ g8 ]2 g* d1 m; R! @. W. s
- หมวดจตุธาตุววัฏฐาน (๓๒)! ~3 D! y# X, r9 w
- พรหมวิหาร ๔ (๓๓ - ๓๖)
* _* B9 R5 o; S5 v! }9 X- หมวดอรูปฌาน ๔ (๓๗ - ๔๐)
- Y6 z3 l, M  }9 r6 L3 Z% Q
1 ?8 e: a* `, T7 l+ ~& ~กามคุณทั้ง ๕ ได้แก่
, ?" P: M& h' ~4 y1 M1 ^" Z  G
๑.
6 ^7 P1 M  p7 W0 \9 C7 O๒.
+ x7 l/ x/ U2 I7 C+ U0 o๓.* m3 h! \3 ], I
๔.
2 q9 @  i  d2 X) h5 l: \$ [" Y๕.
, _) t( F! d: i2 Y2 W. D! d! j7 [( ^8 I: _, e% j
กรรมฐาน ๔๐ กอง แบ่งเป็น ๔ หมวดได้แก่1 V. ?# M) V" V) }
๑. สุกขวิปัสสโก
* `7 `% u! X! y2 k6 e0 Z' [๒. เตวิชโช/ x& ~# {) ^' p. O7 B4 Q
๓. อภิญญาหก
# d! U& M" I$ {2 f4 {9 I) o  n- M๔. ปฏิสัมภิทาญาณ

  a: w7 `2 v  }' y+ P
2 x$ C! t  A  w3 pภวังค์ ๓ หรือสมาธิขั้นต้น ได้แก่; N0 a$ c2 m: D, n1 g
๑.6 R+ w2 x* v; f- E: T
๒./ r) O3 F1 @0 P  P' F  I8 y( N* q: H
๓.
! A. Y8 w1 [; I% p
4 V! n6 N! W' y" x1 a" L2 eรูปฌาน  ๔ ได้แก่
8 T0 N8 h( I# N6 t& H๑. ( ^% Z% P& h- U7 |& J' h& X
๒.
: q+ h/ ^. g4 h๓.7 ^: P' p5 T) c- y' J; ~0 X
๔.1 w2 W- ^" N3 @4 \3 i! t

; o  _1 ~0 E% G  f; X& |อรูปฌาน ๔ ได้แก่
5 z. ^/ c" [; ~. C! I๑. ) j. `1 C0 e8 R
๒.& h- L3 r# k6 ]0 F" h/ S
๓.
# h# [- b! M; p" d' Z6 u  d, p0 p๔.1 c8 g7 O; z  `7 a7 ]& H
; O0 E. h+ w4 z2 l: k+ m+ p
พิจารณาธาตุ ๔ ในร่างกายมนุษย์ อันได้แก่' U2 Q, M' x' Q; R
๑. ธาตุไฟ ๔
3 P% v4 S7 E+ d๒. ธาตุลม ๖! @3 B( M" G/ X. ?! f
๓. ธาตุน้ำ ๑๒9 C+ w/ E, P# j- ]; v5 I. D
๔. ธาตุดิน ๒๐ ; u& U' G; g* O

' O1 }5 H' t2 z- Z" uขันธ์ ๕ ได้แก่7 l/ K- z4 q7 `6 W
- \5 i- G6 N; o+ _# D6 K( U$ d* ~

Rank: 8Rank: 8

2#
NOOKFUFU2 โพสต์เมื่อ 2013-5-17 01:01 |แสดงโพสต์ทั้งหมด

. m, G, m: ?4 b. {! w% p6 ?, E$ kวิปัสสนาญาณ ๙
+ V& a- r% g+ s- X( B5 E๑.
9 q. J7 z* `0 ^/ X๒.
" s0 j% e; ^- f# B๓.
1 i6 ~( }0 ^# ?$ H) M, t/ T# k" C$ |๔.. T- w; O7 ], p+ Z1 O. ~9 n1 _
๕.
: N0 o& j( M7 B3 n/ t% I๖.* T4 h  }- Z1 x9 N4 M/ d9 a: c% @
๗.
" Z; o' G( b$ h. M: j3 |๘.2 ?" @: \; R6 d9 c. {" C! Y; ?
๙.

+ b7 y2 R! g) @+ S; ^) G 6 A6 w9 s5 {; V8 h; E
ญาณ ๘& X# [$ P( r0 y7 ^9 K2 h
๑.
$ u3 ?2 F+ x% r# f7 T" C๒.* h! h: z: Q8 E
๓./ A6 W/ ~' w3 J  T6 \5 h3 [) ~& _
๔.
0 a6 G( ?2 v) y' K0 [๕.
2 [9 d$ l) R  g: @- F1 Q0 P: S  V๖.
. ^, k' n1 `1 r, N/ g4 n5 ?# X* l๗.) V8 q9 M$ v( G* L& z1 `! c1 H
๘.
! u5 S' w8 o( ^. N
! z2 N3 ^+ o( o7 k4 P  d
ปีติ ๕ ได้แก่7 n6 L% b  k" A
๑. $ E, D: G9 b" U7 c0 H; a$ f- e+ U
๒. 9 L% n# {; f. _* i' E- J" |
๓.( J' g) u! o) r  e& i5 _
๔.
4 m' f; v( u7 W1 I8 k/ W๕.

8 V' J# k% k0 C' }1 a) ~
' ~& F! C: ^5 }+ D' kมรรค ๘ ได้แก่" Z5 N* e3 z' p" i% ]5 k
๑.
, o3 c+ ?! d' f& E) L๒.
! b' l/ `0 [$ R. j๓.+ ~- |+ A4 C; _; l1 K" I& ~
๔.
0 T) C- j2 l5 M7 S  x1 V5 E5 Q% u๕." X- R" d: x3 B5 h
๖.. [- h  @9 n; R& D. {
๗.. ~  ^! v0 b( C: \
๘.

; O, a5 p" j2 T: h' c # H! Q! J, v& C
อิทธบาท ๔ ! A! v% n$ P1 G! P7 w
๑. ฉันทะ มีความพอใจ
+ K4 b0 x2 {+ [. b4 [# b3 e๒. วิริยะ มีความพากเพียรในการทำลายอุปสรรคไม่ถ้อถอย' {& V  e3 K' b# ?, e
๓. จิตตะ จดจ่อสนใจในสิ่งนั้น ไม่วางมือ
/ i; }1 m' @) |5 q7 e4 u๔. วิมังสา ใช้ปัญญาพิจารณาให้เข้าใจ
3 d( N4 q- G0 n1 K
/ t7 K) V+ P8 T  u1 g: f6 k
จรณะ ๑๕ ได้แก่* r* z) i- F) b! t2 y
๑.% h# ^2 w  n: a/ x" ^" n8 Q
๒.
- r7 H! v+ @2 |2 y: U% I2 w3 g๓.
8 L3 Q* O; v$ V% s) {. L2 U7 B๔.6 b% |1 U' o( @) H# G" m# `
๕.
9 |- ?9 n0 D' n1 l% L" P/ b3 U๖.1 C% T, v; z9 t+ w8 G$ @
๗.; I$ w8 L# K" N. J; J. Q6 K
๘.
4 K- Y; `& j7 _( ^0 K! [๙.
0 k* U+ q' W; o, v๑๐.. O+ Y* Y3 Q* E$ @- v0 ]
๑๑.
, w2 v6 d. A, X8 M# y% R' S๑๒.# {: E- I7 \/ d5 @. C% }: k( r
๑๓.* C+ }$ ~- i$ |
๑๔./ N  z5 f3 d+ x/ S7 F
๑๕.

% C0 w8 U% a; B' O  L& w ; O; T$ {( i7 S8 @2 I! o
โพชฌงค์ ๗ ได้แก่: j& W/ A; z, Q2 u$ v& J
๑. $ U/ G6 `( z- k! p) u1 e
๒. + \: \$ u. J* A+ B0 E$ }% e2 K
๓. # e9 `8 q# w0 d% f5 M8 Q5 n6 N$ k
๔. 3 `5 E) s; Z1 b& K+ K
๕.' C, @3 Q9 y5 W1 Q5 J
๖.
9 B( i7 G3 e" ^6 Q. j2 P3 ^๗. 5 q( w/ f7 X3 \( j+ D1 M; h
๘." \# B4 d, L8 B" S$ z" P
๙.: p0 V* X4 E- J& C- s3 X
๑๐.
  p6 L8 X, s! {% k0 Y  W8 S2 O2 x
; h4 O' P3 C7 H3 e2 {) v* k
จริต ๖
8 p9 h6 P6 a3 m๑.
  y8 |  a# A. Y$ v$ V๒.1 b* @7 b& [8 _$ m! |
๓.
7 F: }7 i( m7 i1 G( G1 A; x/ z8 a๔.0 w. N1 g. Y1 m7 E3 Z
๕.
3 P2 r2 t5 h/ _# U) Q9 X; G  J๖.
( Z; n7 y. K% H๗.
7 m( X9 t6 a5 q6 l
% z" O$ n* ?0 M+ j6 D& ^1 L
ปลิโพธ ๑๐ (ความเป็นห่วง ความข้องในอารมณ์)
8 g- X( A4 p& S7 n2 Z) e๑. 1 A' I$ K# S, z+ d) @- c
๒.) b) c* N4 V3 H" a8 \& D
๓.9 m' Q/ W# S' k$ J0 T9 k6 a
๔.
6 B0 w. y$ y, k2 q4 V1 p: X0 n๕.
" H7 I! Y& s3 Q2 I+ D0 i2 S๖.
% Q% D6 A% e7 a8 W% C- {9 j6 D, N๗.
9 k' \1 r, s% Q  ~$ u# r๘./ z2 F1 F" T9 D" @
๙.
* Y) M0 o( M% U6 [9 H1 G, M$ T๑๐.
. k! z! J  n- f$ u
* O& `5 \7 C/ {7 b. s

Rank: 8Rank: 8

3#
NOOKFUFU2 โพสต์เมื่อ 2013-5-17 01:02 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
2 x+ m. e! \5 @- J4 ^$ k9 P
พละ ๕
# R$ c: `4 h; A& f% f๑.
. i4 C& k+ `9 A3 N# V, D๒.
& Q3 }8 t+ g$ k5 N' T; _$ o๓.( v+ y9 z. @5 l) H7 T/ b4 J
๔. 6 I  N+ G0 d% i) B2 E6 ^. x
๕.
# w5 B$ i: I4 k( j+ W8 |! j
/ t8 S7 s; S5 _! p2 L% P& I

% D# [( d7 ^1 o0 }: m- Q8 ?- s7 }" k8 tทีปนีกรรม ๑๒4 _4 {- o: b6 `
๑. , v) J% ~) _" x7 m4 x
๒.
. l) Z& ~/ Y0 i๓.- U0 B7 H3 \8 K/ T
๔.. x/ J  {3 f5 Y6 H; G
๕.
+ I3 F" j) R8 Y4 A( ~, I8 k๖.# D7 Z% v8 W4 W4 G- B) o
๗.6 D7 V& r# B$ R( l0 @% P
๘.; c+ z7 Z" v) L. j9 o9 G0 S* A
๙.
. ?5 ^6 q# l! s- G% q- h/ Z3 F; w๑๐.+ N3 R* k, M+ L* k& p. x7 Y! r
๑๑.
0 H9 s0 g6 _& f; p9 H3 ]6 b2 z* t๑๒.
) K: R: T  ^/ K

6 J5 o' F) \4 v3 {1 Z5 V0 H 0 Z2 D# L1 ~* C3 a; u+ ]: W: O
มละ ๙ (มลทิน ๙ อย่าง)
4 @" e3 m: ]7 J: v# A9 l$ L1 C+ s. g & C8 P% m, C7 J! R
" h, [2 z2 P5 C; q: @

! ?0 z0 w/ C" [+ U4 j) h/ Vอายตนะ ๑๒ คือเครื่องรู้ และสิ่งที่รู้ มีดังนี้* \; d' `/ k5 i
๑. จักขายตนะ ประสาทตา: ^; j; q4 [9 s1 l7 b9 ]: v1 d: X
๒. รูปายตนะ แสงสีที่มากระทบตา
' W* A& [5 t- i๓. โสตายตนะ ประสาทหู
0 w/ p: l8 V! g4 g6 M- G+ o๔. สัททายตนะ เสียงต่างๆ
% _% X) ?+ w) O" t; I; W4 k๕. ฆานายตนะ ประสาทรับกลิ่น
9 h2 L9 G! H5 o๖. คันธายตนะ กลิ่นต่างๆ- D5 f- h6 w+ k9 ?! E
๗. ชิวหายตนะ ประสาทรับรส
$ @) b5 \% M; l. W" G' x' i๘. รสายตนะ รสต่างๆ
$ K8 N2 r, J; k4 y. [* Q' S% U* `๙. กายายตนะ ประสาทตามผิวกาย
, u" X* m. n# ~& e; H# v๑๐. โผฏฐัพพายตนะ ความเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ที่กระทบกาย
  I# Z, s8 N3 Y2 T2 A- E๑๑. มนายตนะ จิตซึ่งเป็นผู้สัมผัสกับความคิด
, e. W# F8 h& D3 a9 {8 L๑๒. ธัมมายตนะ ความคิด ความรู้สึกต่างๆ
. {  d4 L3 w' C6 F4 P6 B
2 |, c+ R3 ^7 f; ?' x0 J) Y+ W
อายตนะทั้ง ๑๒ นี้ แบ่งออกเป็น ๒ จำพวกคือ อายตนะภายนอก และอายตนะภายใน3 D7 }- H) {' ^/ D
6 H- ^" B% U5 I9 W
อายตนะภายนอก คือ เครื่องรับรู้ ได้แก่ ตาหู จมูก ลิ้น กาย ใจ (ตามข้อ ๓ ๕ ๗ ๙ และ ๑๑ ข้างต้น)
) @8 I7 y% c2 S! f1 V
  q0 ]9 f6 G# Oอายตนะภายใน คือ สิ่งที่รู้ เช่น รูป รส เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ คือ อารมณ์ที่มาถูกต้องกาย ธรรมารมณ์ คืออารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจ (ตามข้อ ๒ ๔ ๖ ๘ ๑๐ และ ๑๒ ข้างต้น)- b6 G* v, ^2 \! J. W

& O  V" ?8 [- `5 R& v4 y) e( p5 F! m4 S# z' R5 q
ความปรารถนาของบุคคลในโลกที่ได้สมหวังด้วยยาก ๔ อย่าง. F' l# [0 p  ?3 r! W7 X: e
๑. ขอสมบัติจงเกิดแก่เราโดยทางชอบ
6 i3 n. v5 g8 n* M/ n; h7 D$ F๒. ขอยศจงเกิดแก่เรากับญาติพวกพร้อง
+ t" T( S: S! E7 r1 h* Z๓. ขอเราจงรักษาอายุให้ยืนนาน
. p9 K! t! ~6 E8 Q. _๔. เมื่อสิ้นชีวิตแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์
+ [% c  Z: i5 r
ธรรมเป็นเหตุให้สมหมายมีอยู่ ๔ อย่าง
6 \8 B  ^& N' X8 p. B
- ^8 t/ x8 f( b) _' v8 T๑. สัทธาสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยศรัทธา# |7 w1 v$ S2 F! A$ S  _: I: s' B/ o
๒. สีลสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยศีล" s+ l  \6 A  r5 |* K0 ]2 X' v8 @
๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยบริจาคทาน
  r% m1 f2 s: p; p: ]5 i) A๔. ปัญญาสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยปัญญา (เข้าใจเหตุและผล)
6 h+ x, O3 ]& C$ D4 \# x* y0 M4 J

- D2 Y; G. p% m& O: w' Q7 g0 z1 ^6 Qตระกูลอันมั่นคงจะตั้งอยูานานไม่ได้เพราะสถาน ๔ ได้แก่
# `8 p7 O% Z2 c7 r, h! Y1 g๑. ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว
2 Y& y5 d1 A) H๒. ไม่บูรณะพัสดุที่คร่ำคร่า
1 }8 J4 T+ ]( T6 m! n% f6 {๓. ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ; U# B, v! e$ s
๔. ตั้งสตรีทุศีลหรือบุรุษทุศีล ให้เป็นแม่เรือน พ่อเรือน
) {4 l$ f( h9 N1 r8 M$ j
4 r6 j) n/ s$ }+ F2 H% u) C, A
ธรรมของฆราวาส ๔ ได้แก่
4 X! U2 j+ K3 W! |6 w๑. สัจจะ ซื่อสัตย์แก่กัน
) W! p$ E7 b. h0 c4 U$ D# g5 ~๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน9 c* ?% ?7 X$ V% }3 G) d
๓. ขันติ มีความอดทน อดกลั้น
) t6 c( o; ]$ }" O3 l/ a6 M๔. จาคะ สละให้ ปันสิ่งของๆตนให้แก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน

6 `* Q' i% A. k7 q
" i5 K4 M* J  m+ U( yสังคหวัตถุ ๔ อย่างได้แก่ (คุณทั้ง ๔ อย่างนี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวผู้อื่นไว้ได้)4 [8 R3 K' x$ v' Y: d) f2 k) I
๑. ทาน ให้ปันสิ่งของๆตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน$ _) H, X- L" ?: j  i& L1 f4 ?7 _
๒. ปิยวาจา เจรจาด้วยวาจาที่อ่อนหวาน8 [' f! a; L3 {+ M. b4 F/ n
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
# L/ u4 i& ]3 D; C5 B๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว
5 D6 D; o2 T$ ]( P

% O# P: d* Z3 c9 `8 _! f  Y5 W. Zสุขของคฤหัสถ์ ๔ อย่าง ได้แก่
% A4 ~) Z) `; h๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์8 K: b; x+ d) n- g3 w% y# v/ m
๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค' M& ~* F" e3 l7 C4 b& }7 X5 \
๓. สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้; P1 J* H7 w" k: z5 K  \) p
๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ
: X( l+ P% T) \5 _9 j/ }: P
% A1 P) \7 j7 V, A7 G9 u) n

Rank: 8Rank: 8

4#
NOOKFUFU2 โพสต์เมื่อ 2013-5-17 01:05 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ 4 v! q7 `! R3 G- c- u+ c- T

4 H0 x) S5 o7 b' Q: Eบุญ กิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ คือ สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญ หรือกล่าวอย่างง่ายๆ ว่า การกระทำที่เกิดเป็นบุญ เป็นกุศล แก่ผู้กระทำต่อไปนี้

8 z# C( q1 h+ g๑. บุญสำเร็จได้ด้วยการบริจาคทาน (ทานมัย) คือการเสียสละนับแต่ทรัพย์ สิ่งของ เงินทอง ตลอดจนกำลังกาย สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยส่วนรวม รวมถึงการละกิเลส โลภะ โทสะ โมหะ ออกจากจิตใจ จนถึงการสละชีวิตอันเป็นสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเพื่อการปฏิบัติธรรม1 [0 ^. r& c5 C6 d3 D& f: S

$ j/ _" R: t1 O4 u๒. บุญสำเร็จได้ด้วยการรักษาศีล (ศีลมัย) คือ การตั้งใจรักษาศีล และการปฏิบัติตนไม่ให้ละเมิดศีล ไม่ว่าจะเป็น ศีล ๕ หรือ ศีล ๘ ของอุบาสกอุบาสิกา ศีล ๑๐ ของสามเณร หรือศีล ๒๒๗ ข้อของพระภิกษุ เพื่อรักษากาย วาจา และใจ ให้บริสุทธิ์สะอาด พ้นจากกายทุจริต ๔ ประการ คือ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ ละเว้นจากการลักทรัพย์ ละเว้นจากการประพฤติผิดในกาม และเสพสิ่งเสพติดมึนเมา อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท วจีทุจริต ๔ ประการ คือ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดปด  ไม่พูดเพ้อเจ้อ และไม่พูดคำหยาบ มโนทุจริต ๓ ประการได้แก่ ไม่หลงงมงาย ไม่พยาบาท ไม่หลงผิดจากทำนองคลองธรรม
2 V4 x5 b1 |5 U( @* ~
+ {8 h) g% J1 B5 N* X; b๓.
& P* w$ C0 Y* I% T  Y2 Z5 Z, j; O- C๔.: w) J7 A" W2 |. g0 z" J
๕.' C# m4 g* G+ U( [7 G' k
๖., K8 e6 z- V( k, x; z9 W- O" d* ]
๗.$ I/ i7 V1 y' I' A  b- J! R
๘.' j' I& k# S: K- z# E' b/ Y5 _
๙.* Y0 G! x  G1 h1 w
๑๐.

' M8 L8 ?/ V% T8 k. f0 [+ ? 7 ?* P* e0 H# N; y9 a) H5 i
และให้ศึกษาปฏิจจสมุปบาทมาให้เข้าใจ , d0 N) p, Z; ]1 N
รูป นาม วิญญาณ
3 S* _" [9 Y  G# i+ iภพ - ชาติ9 i) C( D7 X( L$ Z/ y
เสขะ อเสขะ
  q/ Y2 B5 Y6 R, _: ^( i  A5 D
: L( p  o. N. z$ ]3 }; t
***ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่จะออกข้อสอบวัดผลความรู้ด้านปริยัติ นักเรียนอภิญญา มีทั้งอัตนัย(แบบมีตัวเลือก) และปรนัย(ข้อเขียน อธิบายมาให้มากที่สุด)
8 k$ d8 g+ t# C" E' H

Rank: 8Rank: 8

5#
NOOKFUFU2 โพสต์เมื่อ 2013-8-5 20:21 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
ตอบกระทู้ มารน้อย ตั้งกระทู้% Q& Y' u* m5 _
' n  ~7 }" U/ V, w2 i/ G. ~3 L
$ I6 q- v( K1 {5 r( ^- Y: t

. k" O) l. i" d3 X$ aตัวอย่างที่ยกมาของ "ท่านพระโปฐิละ" เป็นตัวอย่างของพระที่มุ่งศึกษาแต่ปริยัติอย่างเดียว จนเกิดทิฐิมานะเกาะกินใจ ว่าตนเป็นผู้มีคนศรัทธามาก และไม่สนใจเรื่องการปฏิบัติเพื่อมรรคผลอย่างแท้จริง & N" l) H& J- e- v- @: ^; @/ z- J- @

% U% e0 ^9 K' [0 h* ?! g: _
) V9 ?- w+ q; i$ M. aแต่ในเรื่องของการฝึกฤทธิ์อภิญญาแล้ว มันค่อนข้างจะต่างกัน เพราะในกรณีของท่านอาจารย์วิเชียร ที่จำเป็นต้องให้มีการศึกษาธรรมให้เข้าใจก่อนนั้น มันมีที่มาที่ไป คือ.....
" p. N& ~( R$ {( K5 ~! b" k8 B: i& H& }1 O# K$ B1 o
, a, Y1 J# |4 \1 R) i# I
๑. เคยมีลูกศิษย์ฆราวาสท่านหนึ่ง มาขอเรียนอภิญญา ๕ กับท่านอาจารย์วิเชียร แต่ด้วยความที่เขาเน้นแต่ปฏิบัติเพื่อให้ได้เกิดฤทธิ์อย่างเดียว ไม่สนใจเรื่องการศึกษาหลักธรรมเลย2 Y2 h9 F1 _; o/ Y% [- B

5 X! w  p. ]" _  y& Fผลลัพธ์หลังจากที่เขามุ่งเน้นแต่จะเอาฤทธิ์ก่อน คิดว่าธรรมะไปศึกษาเอาตอนไหนก็ได้ เมื่อเขาสามารถฝึกพลังจิตจนสำเร็จแล้ว จึงเป็นเหตุให้ลูกศิษย์ท่านนี้ไปเป็นพนักงานอยู่ที่บ่อนการพนันฝั่งลาว มีหน้าที่ในการใช้พลังจิตเพื่อให้คนที่ไปแสวงความร่ำรวยเสียเงินหมดสิ้นเนื้อปะดาตัว เพ่งแกนสล็อตเพื่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน ฯลฯ พร้อมกับทำผิดศีลธรรมทุกชนิด ก่อกรรมทำเข็ญมากมาย และสุดท้าย อภิญญา ๕ ที่ได้มาก็เสื่อมหมด: B: {- u! S- z4 N( b

1 Q. Q1 a7 I4 Q1 Bด้วยเหตุนี้คนที่จะมาขอฝึกอภิญญา ๕ กับท่านอาจารย์ ท่านอาจารย์จึงต้องตั้งกฎใหม่ว่า ลูกศิษย์ของท่านทุกคนจะเป็นต้องเรียนรู้ธรรมะให้เข้าใจเสียก่อน ถ้าศีลแม้แต่ศีล ๕ กรรมบถ ๑๐ ยังถือไม่ได้ก็ไม่ต้องมาขอเรียนอภิญญา
4 {5 a4 X/ Q8 f2 j2 V; b5 ^# `# i! t  N0 Z8 m
) b! {# W, G! C- e, h- g7 L, n
๒. ส่วนธรรมข้ออื่นๆนั้นล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยช่วยส่งเสริมให้ลูกศิษย์ฝึกอภิญญาง่ายขึ้น เพราะสิ่งสำคัญของลูกศิษย์ที่จะฝึกอภิญญาสำเร็จ คือ ต้องมีความเพียร มีความอดทน อดกลั้น (อิทธิบาท ๔) ไม่ย่อท้อต่อการถูกทดสอบต่างๆนาๆจากเทพพรหม จิตใจต้องแน่วแน่ เข้มแข็ง ไม่ยอมแพ้ต่อพญามารและกิเลสตัณหาของตนเอง และต้องทรงให้ได้ซึ่งความ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขาพร้อม (พรหมวิหาร ๔ + ศีล ๕ )
; l) q4 W5 Z! P2 V
9 N; z0 ~& g; h& q; F* Z: f% _& @2 x๓. ส่วนปริยัติข้ออื่นจะอธิบายในเรื่องอาการของสมาธิที่จะเกิดขึ้น ตั้งแต่เบื้องต้น จนถึงอรูปฌาน รวมไปถึงขั้นตอนของการวิปัสสนา เพื่อปูพื้นฐานให้ลูกศิษย์รู้ว่าหลังจากได้อภิญญา ๕ แล้ว วิปัสสนาตัวใดที่เหมาะกับจริตของตนเอง การรู้จักใช้วิปัสสนาที่ถูกกับจริตของตนมาร่วมด้วย เพื่อให้ลูกศิษย์สามารถยกระดับจิตของตนไปสู่ อภิญญา ๖ ต่อได้ในที่สุด (เช่น การพิจารณาอาหาเรปฏิกูล และมรณานุสสติ เพื่อให้มีพระนิพพานเป็นเป้าหมายสุดท้ายที่จะไป)
6 Z- \* {, l2 P. @8 B: l6 f

# i/ {4 F/ u. S6 s3 j6 R# z$ }และอีกสาเหตุหนึ่ง ที่ลูกศิษย์จำที่ต้องศึกษาปริยัติไว้ล่วงหน้าก็เพราะเวลาที่ลูกศิษย์ไปสอบถามระดับกรรมฐานหรืออาการสมาธิของตนกับท่าน เมื่อท่านอาจารย์ตอบมาเป็นภาษาบาลี (เช่น ได้ถึงขั้นตติยฌาน หรือขั้นทุติยฌาน อรูปได้ถึงขั้น....)  ตัวลูกศิษย์เองจะได้มีความเข้าใจทันที ว่าตนเองพัฒนามาถึงขั้นไหนแล้ว7 L# q! P0 r: o
% y/ g9 S, C# k, A5 B) C. ?/ S# \$ P
๔. ที่ท่านอาจารย์ให้ศึกษาปริยัติก่อนนั้น ท่านไม่ใช่บอกให้ศึกษาหมดทั้ง ๘๔๐๐๐ ธรรมขันธ์ แต่บอกเพียงให้ศึกษาเป็นบางข้อที่นักปฏิบัติที่ดีจำเป็นต้องรู้ไว้ เพื่อลูกศิษย์ของท่านจะได้เป็น คนดีของสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน และเมื่อตายไปแล้วก็ได้ไปสู่ภพภูมิที่ดี
! q; n% F$ B: @* p2 M5 B2 D! l% s0 t9 r
๕. ท่านอาจารย์มักพูดเป็นนัยบ่อยครั้งว่า ปัจจุบันนี้ผู้ที่มาขอฝึกอภิญญา ส่วนมากที่ไม่สำเร็จกัน เพราะมักมาด้วยความโลภ อยากได้ฤทธิ์และอยากเป็นผู้วิเศษ อยากมีชื่อเสียงได้ศรัทธาจากคนหมู่มาก ซึ่งท่านอาจารย์เองก็รู้ว่าหากคนเหล่านี้ได้ฤทธิ์ไปแล้วจะนำไปใช้ในทางใด ท่านอาจารย์จึงจำเป็นต้องชำระล้างจิตใจลูกศิษย์ของท่านให้สะอาดมากพอเสียก่อน นั้นคือการให้ศึกษาธรรม และให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ ไม่เช่นนั้น ถ้าปล่อยให้ฝึกได้ไป มันก็ไม่ต่างอะไรกับเอาอาวุธไปใส่มือโจร
3 y; Q/ p( r% R$ F3 x& a2 s0 @2 Z7 `/ L  e2 ^2 x3 s5 \) @( |
๖. พระเดชพระคุณหลวงพ่อฤๅษีสอนปรยัติก่อนที่จะสอนกรรมฐานให้ทุกครั้ง ถ้าสังเกตุดีๆ ก่อนที่ลูกศิษย์จะเรียนมโมยิทธิ ท่านจะบอกให้รู้จักการถือศีล ๕ และ ศีล ๘ จากนั้นก็จะสอนให้รู้จักกับการตัดสังขารร่างกาย สอนให้พิจารณาความตายก่อนทุกครั้ง ไม่ให้ยึดติดสิ่งสมมุติใดๆทั้งหลายในโลก เช่น ชื่อเสียง เกียรติยศ เงินทอง ฯลฯ  สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นธรรมะที่มีอยู่ในพระไตรปิฏกทั้งสิ้น จากนั้นพระเดชพระคุณหลวงพ่อจึงค่อยสอนฤทธิ์มโนมยิทธิให้ เพื่อให้ลูกศิษย์ของท่านนำวิชามโนมิยทธินี้ไปใช้ประโยชน์เพื่อความบรรลุมรรคผล ไม่ใช่นำวิชาของท่านไปใช้ในทางมิชอบมิควร ใช้ฤทธิ์เพื่อสนองตัณหาตนเอง ก่อกรรมทำเข็ญกับผู้อื่น

6 |% d1 z) p5 l9 s
‹ ก่อนหน้า|ถัดไป

สมาชิกที่เพิ่งอ่านหัวข้อนี้

คุณต้องเข้าสู่ระบบก่อนจึงจะสามารถตอบกลับ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

แดนนิพพาน ดอท คอม

GMT+7, 2025-5-1 17:52 , Processed in 0.111234 second(s), 15 queries .

Powered by Discuz! X1.5

© 2001-2010 Comsenz Inc. Thai Language by DiscuzThai! Team.