- สมัครสมาชิกเมื่อ
- 2013-1-26
- เข้าสู่ระบบล่าสุด
- 2016-3-21
- สิทธิ์ในการอ่าน
- 10
- เครดิต
- 0
- โพสต์
- 162
- สำคัญ
- 0
- UID
- 10617
|
คงเป็นอย่างที่อธิบายมามั้ง ผมไม่ขอออกความคิดเห็นดีกว่า ) }* W* O) o. h2 G$ v2 z+ H
"กัมมุนา วัตตติ โลโก", u# b! C# G9 u& Z0 @
สัตว์โลกทั้งหลายต้องเป็นไปตามกรรม
* I: j0 s! T5 Z" F& i' U. Gอุทฺเทส กมฺมปจฺจโย เพราะมีเจตนาตั้งใจเป็นปัจจัย' R8 u1 |2 e$ F
กัมมปัจจัย หมายถึงการกระทำของจิตใจที่เป็นเหตุให้เกิดผล หรือให้สำเร็จกิจในหน้าที่ของตนเรียกว่า "กรรม"/ }$ G8 N6 p% |+ `2 p/ j
ดังพุทธภาษิตกล่าวไว้ในอังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาตว่า...9 \' ]4 d' V Z! ~/ m5 f, m. Q
"เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ เจตยิตฺวา กมฺมํ กาเยน วาจาย มนสา"* g( {/ Z2 Q- N& J
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า เจตนาคือตัวกรรม สัตว์ทั้งหลายที่ทำกรรม ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจก็ดี ย่อมมีการปรุงแต่ง คือคิดนึกก่อนแล้วจึงทำ2 ]# i% c; }& `& t
ดังจะเห็นได้ว่าการกระทำด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ จะเป็นกุศล หรืออกุศลก็ตาม ต้องอาศัยเจตนาเป็นใหญ่ เป็นหัวหน้าในการกระทำนั้นๆ ฉะนั้น เจตนาจึงเป็นตัวกรรม หรือเป็นหัวหน้าของสังขารขันธ์ทั้งหลาย
6 F' d) ~, B% @$ x" Vกัมมปัจจัยที่กล่าวว่า เป็นปัจจัยให้เกิดผล ก็เพราะทำหน้าที่เพาะพืชพันธุ์ให้เกิดผลในอนาคต เรียกว่า พีชนิธานกิจ คือ ทำกิจสั่งสมพืชเชื้อเพื่อให้งอกต่อไปในอนาคต เป็นนานักขณิกกัมมปัจจัย |
|