แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน"

 

   

ค้นหา
เจ้าของ: yuiflukefo
go

ถามเรื่องการอุทิศบุญ [คัดลอกลิงค์]

Rank: 1

Rank: 1

5 k* |% s% n( P! G- `

7 e$ u! H3 M8 t6 y9 E* a[size=150%]โอวาทธรรม 9 E3 N" a' m* Y- @
ของ 6 G5 E, l' j3 g' y5 O+ Y: R
[size=150%]พระราชพรหมยาน/ E  y: b/ S% z6 @9 X+ V3 q
(หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)

& p! `8 G7 L$ u2 l# n3 Q
วัดจันทาราม (วัดท่าซุง) จ.อุทัยธานี
( n) {2 s0 l+ m8 O- n
/ o( `, G2 X6 \2 G

1 B9 c, b0 o1 V: V: o& c9 Q) i$ D! |7 j% J% `% N5 o! X9 W/ m8 ]
การอุทิศส่วนกุศล. I1 K8 i7 g* \' w- n9 K
' }: ~. B! x8 o7 c; w/ J8 O
"หลวงพ่อคะ...ลูกทำสังฆทานให้สัมภเวสี ถ้ากลับไปแล้ว
  E$ W; g2 W/ D# k6 Wจะกรวดน้ำได้ไหมคะ...?"
" J2 S1 M$ R. E5 `. A
" |/ K- n& w5 r6 Z: D, h/ N
การอุทิศส่วนกุศลในพระพุทธศาสนานี่ไม่มีน้ำ' ^6 O4 e+ e4 w0 r% r/ ]8 u' r
แต่ที่พระเจ้าพิมพิสารทำเป็นองค์แรก
* k" h3 ]: \: `% E# h. Vเพราะว่าศาสนาพราหมณ์เขาถือว่า ถ้าจะให้อะไรกับใคร   ^) D( p& x% T7 s
ต้องให้คนนั้นแบมือแล้วเอาน้ำราดลงไป

  R+ G! D+ p/ [+ B9 X& f8 H$ ?
' ^* ^- J5 ^9 [. \- d( }+ X: o& sและตอนที่พระเจ้าพิมพิสารทำ พระพุทธเจ้าท่านก็ไม่ได้ห้าม
8 j6 l1 P  ]- }- cเวลาที่พระเจ้าพิมพิสารอุทิศส่วนกุศลต้องใช้น้ำ
, K: G! s3 @# Wเพราะว่าท่านเพิ่งพบพระพุทธเจ้า $ x2 _) n( J) u) T
ประเพณีของพราหมณ์ยังชินอยู่ แต่ว่าใจท่านตั้งตรง% c5 j! x. g" _7 T3 u

* o6 B; I0 ^* ?9 c/ l6 tเวลาอุทิศส่วนกุศลจริงๆในพระพุทธศาสนาไม่ต้องใ้ช้น้ำ4 N1 q$ Y, X7 Y! g7 y% @0 b
ผีกับเปรตต้องรีบวิ่งกลับเพราะไม่ได้กินแน่ เพราะฉันเคยพบมาแล้ว! a" l* W; D+ }* f1 E, \) n/ S: G) J
แต่ไม่มีน้ำนะ ว่า "อิมินาฯ" เพลินไป , c- N/ F0 K- g
ยังไม่ถึงครึ่งก็มีคน ๒ คนถือโซ่คล้องคอปั๊บลากไปเลย
6 P' E: E' i: k- p* p  T

+ J0 y! C9 l9 D3 y" X& \
/ c$ t0 d" U" \" o# ]. g
8 q9 |: X( v+ e8 f* n" Tกรวดน้ำแบบแห้ง4 v) v$ ~( C4 v1 x+ k' U
, n8 L0 \( H+ D. I
"มีบางคนเขาบอกว่า กรวดน้ำแบบแห้ง5 M& @  d" R7 H# m% Y6 K
ตายไปชาติหน้าจะแห้งแล้งเพราะไม่มีน้ำ
# R1 T" B/ U* ?: x0 {1 Yโบราณพูดอย่างนี้จะจริงหรือเปล่าคะ...?"

, k" |% l3 m0 L, r1 ?* k. O8 m( N/ o4 u5 t9 u* p1 q
เขาพูดได้ยินหรือเปล่า? คนที่พูดมาได้ยินหรือเปล่า?
! }! P3 \$ |; `$ O" \คนโบราณพูดอย่างนี้ คนโบราณพูดหรือเปล่า?% H4 P  T3 G# ^; R! G* i
ถ้าได้ยินแสดงว่า เขาพูดจริงแต่ก็ไม่ได้แห้งแล้งจริง
2 b- Q- k( i2 }' p7 U! [4 i. W* h7 O
$ Q7 i& x0 `5 M* Tการอุทิศส่วนกุศล พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ใช้น้ำ
5 N/ K/ f5 K- Z1 d7 Lฉันใช้น้ำวันเดียว วันบวช ว่าไม่ถูกเลย
; z& \0 f8 O1 X" s& i+ n* H/ F" Z. Q  Aต้องระวังน้ำหยดอีก ผีไม่ได้กินน้ำ" |, @( w7 b* F2 C
ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา ฉันไม่เคยใช้น้ำเลยก็เห็นผีได้รับ% w7 C5 O* G% o" @2 f9 t5 U
แต่ชาติหน้าถ้าจะทำอย่างนั้น ถ้าฉันยังไม่ตายก็ไม่ได้เหมือนกัน( k$ e/ q1 h! k% ~, o; P* [
แต่ไม่เป็นไรนะ กินน้ำเกลือเผื่ออยู่แล้ว เผื่อชาติหน้าจะอด# l$ R: S; _; w5 C% N, ]  P

5 p) I$ \3 P  i! ~"อ๋อ...มิน่าล่ะ...หลวงพ่อถึงให้น้ำเกลือบ่อยๆ"
" `7 v+ ]" C+ I0 O! N3 L) qใช่..มีทั้งน้ำสะอาด น้ำเกลือ น้ำหวาน เผื่อไว้ตลอด1 W& y, i0 T0 o( G, R8 M! t7 w7 w
; A* B8 s8 M# ]
รวมความว่า เวลาจะอุทิศส่วนกุศล ให้ใช้ภาษาไทยสั้นๆ
2 |3 c: |8 G6 Z; @$ G2 w( Tอย่างทำบุญสังฆทาน เราก็ตั้งใจว่า ) ]* Z4 ]# D' D8 P$ G, P* N
"การบำเพ็ญกุศลในวันนี้ ผลจะมีแก่ข้าพเจ้าเพียงใด
$ b; C1 l8 j& b! F) _6 d1 }; c6 ^- Z( ^ขออุทิศส่วนกุศลให้แก่...(บอกชื่อ) % Y# }$ c$ d  Y- Q
ขอให้มาโมทนารับผลเช่นเดียวกับข้าพเจ้า"

9 L# k+ }; Y: ^1 ]
. ?. z' e' }( Zและตอนที่พระสงฆ์ให้พรนี้
3 @. d$ i( ~4 @3 cก็ขอเจ้าภาพและทุกท่านที่บำเพ็ญกุศลแล้ว   E5 ?% _! K" P5 }
ตั้งจิตปรารถนาเอาตามประสงค์
5 W4 C8 P" b3 u* K, p. A" ~" |2 L- x. K4 |/ W( H( l/ S" C
สมมติว่า ท่านทั้งหลายตั้งใจเพื่อ "พระนิพพาน"
& U- j% i( ^1 p+ x2 b" Sอันนี้ก็ต้องเผื่อด้วยว่า หากสมมติว่าเราตายจากชาตินี้แล้ว
- n( Z2 t% P$ E: hยังไม่ถึงซึ่งพระนิพพานเพียงไร 4 p1 h* B7 @! X
สมมติว่าเราตาย...ถ้าไม่เผื่อไว้ละก็มันจะขลุกขลัก& k. {, z9 ^( O) R+ p
8 e7 Q# K( k+ b; R6 }1 v; z3 K/ W
ฉะนั้น การอธิษฐานจิต คือ ตั้งอธิษฐานเขาเรีัยกว่า อธิษฐานบารมี
1 @* Q. ]* R$ G) i8 M0 iเจริญพระกรรมฐานก็ดี ถวายสังฆทานก็ดี อธิษฐานว่า / A3 n9 @8 p; {7 ?7 y: f" n1 \
"ขอผลบุญนี้จงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าถึพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้
+ g- J% ^+ R% C: A7 aแต่ทว่าถ้าหากข้าพเจ้าไม่ถึงพระนิพพานเพียงใด& K1 V3 O  F5 i0 P! r# ]
จะเกิดใหม่ไปในชาติใดก็ตาม ขอคำว่าไม่มี...จงอย่าปรากฏแก่ข้าพเจ้า"
( P$ G2 I6 z, `" L) o1 P
" D9 ?( L' _! ?
ถ้าเราต้องการอะไรให้มันมีทุกอย่าง
$ R8 T# h( V2 U; E( k4 {* Jจะไม่รวยมากก็ช่าง เท่านี้ก็พอแล้ว

$ B' m0 F/ G6 b% f8 q
5 `1 D" e! `2 U' \
! M: w2 t% n5 X. R- g. s' i$ m3 @! X
ลืมอุทิศส่วนกุศล . k! F% \* H: V3 C, Z8 f0 i& p7 j% o
8 M0 w6 W( ^2 {
"เมื่อทำบุญแล้ว ถ้าจะอุทิศส่วนกุศลภายหลังจะได้ไหมคะ...?"4 ?9 o4 b* }5 r! G$ Y# t
การทำบุญไปแล้วครั้งหนึ่งสักกี่ปีๆ บุญก็ยังอยู่
) |, ^7 b2 f5 ]5 `5 R4 H8 A6 T6 qถ้าทำไปแล้วสัก ๓๐ ปีก็ยังอุทิศส่วนกุศลได้ บุญมันไม่หาย" Q; F/ ^9 t& B
ไม่ใช่เราทำบุญแล้วเดี๋ยวเดียวมันก็หาย ไม่ใช่อย่างนั้นนะ
) w$ L/ O: F: {& y

3 n# b6 k7 t9 P* R9 x"แล้วถ้าเผื่อทำบุญแล้ว ไม่ได้อุทิศส่วนกุศลจะได้บุญเต็มที่ไหมคะ?"
' R* ]* m4 o' h$ t1 j$ hก็ได้เต็มที่อยู่แล้ว เราเป็นผู้ได้สมบูรณ์แบบ
  J7 m8 Q+ f& ?( c7 n& j" T& Y# k
9 d( `" k! {- eแต่อยู่ที่ว่า เราจะให้เขาหรือไม่ให้
! X. G3 F9 a, b% Y7 Hการอุทิศส่วนกุศลนี่ถ้าเราไม่ให้เราก็กินคนเดียว ใช่ไหม
* ?) {. ?$ }. i, Yทีนี้ถ้าเราให้เขา ของเราก็ไม่หมด
) l/ Z* }5 Q% ?2 I/ Z0 hอีกส่วนที่เราให้ไปไม่ได้ยุบไปจากของเดิม
' m+ {  Z+ N; B0 i
1 s) c7 q# \3 lอย่างเรื่องของ พระอนุรุทธ
8 H7 ^1 W8 d& H6 v: K4 v+ `( Uสมัยที่ท่านเกิดเป็นคนเกี่ยวหญ้าให้ช้างของมหาเศรษฐี- }$ p6 |- W% W" U3 A. s1 R
เวลาที่ทำบุญแล้ว เจ้านายขอแบ่งบุญ
& P/ f- U1 ~: f- o6 o: Mท่านก็สงสัยว่า การแบ่งบุญน่ะจะแบ่งได้ไหม . K' q- u6 ]+ p: k, E: b2 R
จึงไปถามพระปัจเจกพุทธเจ้าที่ท่านรับบาตรนะ
, X% j3 g0 j: I4 F0 q
" q, X6 h9 D4 o5 X1 K4 W! P- bท่านก็เปรียบเทียบให้ฟังว่า 6 t1 b: c/ N( x! a6 C8 o
สมมติว่าโยมมีคบ แล้วก็มีไฟด้วย
1 t4 H' R& F- {- h8 ~3 L2 Xคนอื่นเขามีแต่คบ ไม่มีไฟ ทุกคนต้องการแสงสว่าง2 X3 A9 s/ }7 j- L( D
ก็มาขอต่อไฟที่คบของโยม แล้วคบทุกคนก็สว่างไสวหมด
% S9 O* t: U, W7 D: [อยากทราบว่า ไฟของคุณโยมจะยุบไปไหม?
3 e7 a* z4 L$ B+ F: ^ท่านอนุรุทธก็บอกว่า ไม่ยุบ
7 R) I) m, U) Q1 W9 J; x( Y3 Y" A8 h0 W* B
แล้วท่านก็บอกว่า การอุทิศส่วนกุศลก็เหมือนกัน
0 j( }1 K- A. H9 G1 Wให้เขาอนุโมทนา แต่บุญของเราเต็ม ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์
2 X, u& h8 c. X! O

7 Z0 z" a" ]" H 0 B3 E  J  n/ E# x

2 x7 Q4 J, U0 n: H  t: k! e0 Wการแผ่ส่วนกุศล
6 `% G! X# s* f1 u. X
7 Y# Y1 e* `2 @* u" S' Y5 I  U0 v"การแผ่ส่วนกุศลไปให้แก่บิดามารดา ท่านจะได้รับผลไหมคะ...?") U9 ?$ S0 v4 p7 h/ ~/ q

$ b: X) V  S0 B& z" o0 d* Z( E4 Qการได้รับส่วนกุศลนี่ ถ้าหากท่านมีโอกาสโมทนา ท่านก็ได้รับ# c7 E3 y( B( M4 v, q
ถ้าท่านไม่มีโอกาสโมทนาก็ไม่ได้รับ

* C/ y( D2 g6 }! q3 L# O$ o; e- M
; _% E: \3 V7 b' Y; h& {& L2 lเหมือนเราเอาสิ่งของไปให้แก่ผู้รับเขาไม่รับ เขาจะได้ไหม
* N7 N1 V1 d1 z1 b9 Y! n! X$ lถ้าพวกเขาอยู่ในนรก ไฟไหม้ทั้งวัน ถูกสรรพาวุธสับฟันทั้งวัน" F. ~- [2 _* K( x( m
ถ้าเราเอาขนมไปให้กิน เขากินได้ไหม?5 u) h6 z4 q& X9 b3 C
"ไม่ได้ค่ะ"
6 z  H+ @0 q+ J: i7 c' x# {อยู่ในแดนเปรต ๑๑ จำพวก ไมไ่ด้รับ
1 A' Y7 U: ~  r0 p0 gแต่ถ้าเป็นพวกที่ ๑๒ คือ ปรทัตตูปชีวีเปรต พวกนี้มีโอกาสโมทนา, t; [, s4 O5 W! ]
5 r: J& A5 A# e1 k
"แล้วผู้สร้างจะได้ไหมคะ...?"0 N2 r! o9 k" l
ไม่แน่..ถ้าสร้างดีก็ได้บุญ ถ้าสร้างไม่ดีก็ได้บาป7 L2 [. p- T! X* d  v1 T% @* w
"เป็นไงคะ...?"
5 p; i8 f) c7 \คือ ก่อนจะทำบุญ ก็กินเหล้ากันก่อน พอพระไปก็กินเหล้ากันแล้ว : y  {8 x: e# j8 W8 L  k
ถ้าหากมีเจตนาบริสุทธิ์ ไม่มีบาป มีแต่บุญ ผู้สร้างได้ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์- E5 `: k3 Q9 t: t6 ^  G; W3 ^% Q
คือ บุญนี่จะได้แก่ผู้สร้างก่อน แล้วผู้สร้างอุทิศส่วนกุศลให้ผู้อื่น; U9 S; @7 s, Q  Q3 _, L( {
ถ้าเขามีโอกาสโมทนาก็ได้รับ
' P0 Y# G6 }8 U; u" g" z% o
1 J1 |1 X$ u* \7 y0 `* \
6 q6 G$ Q1 M) Y! J
+ Y" R) M/ }5 i% z5 O; B: K9 p- e
อุทิศเจาะจง3 B0 W  G* c8 }8 ], a2 N

5 V4 z% S& q4 ]3 {- K; j"ทีนี้การอุทิศส่วนกุศลแก่บุคคลต่างๆที่ตายไปแล้ว
  o% W, H; u& `, d. P* k. V) g! ^จำเป็นไหมครับว่าะต้องออกชื่อ รู้สึกว่า มีมากเหลือเกิน"

' q% c0 k; @6 ~( n% h% p  \* O
) O: n: [; l! M2 j2 Oถ้านึกได้ก็ออกชื่อเขาก็ได้ ถ้าออกชื่อน่ะดีอยู่อย่าง+ D; o$ |, H. v% W( g5 V$ |
ถ้ากรรมหนาอยู่นิด ถ้าออกชื่อเจาะจงเขาได้เลยนะ
8 t1 V0 t$ j7 d+ R- n) Uถ้านึกไม่ออกก็ว่ารวมๆ ญาติก็ดี ไม่ใช่ญาติก็ดี
2 W9 z$ v. n( Cเอายังงี้ดีกว่า ถ้าขืนไล่ชื่อไปน่ากลัวจะไม่จบ
# k7 O9 i) Y/ Q% U3 i! b

* N- O6 o" ~7 g5 M: F6 tมันมีอยู่คราวหนึ่ง ไปเทศน์กัน ๓ องค์
6 R# k9 j4 r, M  Y7 Kบังเอิญที่ไปก็มีอารมณ์จิตคล้ายคลึงกัน 2 ~9 z4 Y- E; `
เวลาเพลเขาก็ถวายอาหาร ก็มีพระอื่นด้วยรวมแล้ว ๕ องค์" `) a* ]- k1 D$ q

7 I/ w8 |! `7 H& ^6 r( i3 Uทีนี้ตาทายกเขานำอุทิศส่วนกุศลในวันนั้น แกก็ออกชื่อคนตาย
8 K1 k7 y; y/ Y& ]แล้วก็บรรดาญาติทั้งหลายที่ตายไปแล้ว บอกเท่านั้นแหละ
) T+ E/ M0 e) }) H, y5 Yพวกผีก็เข้ามาเป็นหมื่นล้อมรอบศาลาอยู่ 9 d' F- H) \) J) U# b
ไอ้คนที่เป็นญาติรับโมทนาแล้วผิวพรรณดีขึ้น
+ ]& n  W* \5 p& D  \4 gไอ้พวกที่ไม่ใช่ญาติก็เดินร้องไห้กลับ, Q4 S! t! [' j6 V; A
5 J" Q/ t9 l/ P+ V& a
พอเขานิมนต์ขึ้นไปเทศน์
/ k+ E. n) e# E$ Rตอนลงท้ายเขาถามกันว่า การอุทิศส่วนกุศลทำยังไง" ~% i+ [2 o5 x$ I5 @( K& g
องค์ที่มีปากร้ายอยู่สักหน่อยบอกว่า6 s/ k4 s: d7 |7 N8 p
ญาติโยมที่นำอุทิศส่วนกุศล อย่าให้ใจแคบเกินไปนักสิ) v2 }8 S1 E8 M2 M

; H' a9 s7 c5 @% v0 ~อย่าลืมว่า การทำบุญแต่ละคราว
. |  U$ a) s; D+ ?9 z+ Fพวกปรทัตตูปชีวีเปรต ก็ดี พวก สัมภเวสี ก็ดี จะมายืนล้อมรอบ9 f: t2 q) O( \9 u( O- J- n3 m7 T/ ~

" Z' h+ X' S; S; s& sอย่างสวดบท อยัญจะโขฯ น่ะ
5 p* ?/ f! I$ [7 bพวกบรรดาผีทั้งหลายทั่วบริเวณจะคอยโมทนา
! T5 d6 O: T7 u9 pแต่ถ้าเราให้แต่ญาติๆก็จะได้
8 l) r7 u: v- d4 u7 ?แต่บุคคลอื่นไม่ใช่ญาติจะไม่ได้
( i$ ~' a" s7 T/ b
. D$ M2 K3 P& z5 j+ V- h& _7 H* {ฉะนั้นก็ควรจะให้ต่อๆกันไป : U. x2 e4 p: K' p6 l
คือว่า ให้ทั้งหมด ทั้งญาติและไม่ใช่ญาติ

0 Q  j% P$ z  ?4 z0 e1 r8 Q7 V7 ?
, c" m" y* z2 f/ J# v0 {) n
/ ]( a, T3 A6 \; Z  A3 p7 X, F, m" H+ W2 B* N6 ~8 l: P5 q! ^, X9 T/ [
พุทธานุสติ  J9 Z4 Z, l* H! ~5 I. m
! [! v7 U0 I$ v. u9 z# D; r4 }' p
"คนไปนิพพานแล้วอุทิศให้ได้หรือไม่...?"- i! i* X) G& J* W1 w+ Z+ J. ^  G2 o8 \
ได้...แม้แต่พระพุทธเจ้าเราก็ควรอุทิศให้ได้
2 z! \& t$ u" K1 z- Xเพราะเป็นการสนองคุณ แสดงความกตัญญูกตเวที

3 n( n8 F& h3 j$ s: e# R
: _3 }, F* ?  s& B, E2 Kความจริงท่านไม่ต้องการหรอก ของท่านมีจนล้นแล้ว
9 D9 c0 O3 ]; M) S) Zถึงแม้ท่านจะไม่รับ แต่อย่าลืม อย่างเราเป็นพ่อแม่เขาน่ะ
0 D( U/ ?/ F" U9 ]* C0 Lถ้าไอ้ลูกมันอยู่บ้านไกล นานๆ มาหาที * O! l, B  n# G& V% B
เอาของอะไรมาให้ ถึงแม้ของนั้นไม่มีค่าอะไร เราก็ยังดีใจใช่ไหม
( m/ X# v& c3 v, s. S* J, n! C% Vเห็นว่า ลูกน่ะมีน้ำใจ มีกตัญญูรู้คุณ % x+ G* Q& d& X& `7 Y
+ l9 l7 X- W- Y, m6 N
อันนี้ก็เหมือนกัน ถ้าหากว่า เราอุทิศส่วนกุศลให้พระพุทธเจ้า( x8 {* k$ s/ J/ ]' q4 u2 Z
ก็แสดงว่า เรากตัญญูรู้คุณของพระพุทธเจ้า
0 [! e; n5 E6 ?* S1 p9 h- [# g  y: R3 @! M4 L9 Q* h5 g6 l/ f
การบูชาคุณของพระพุทธเจ้าด้วยความกตัญญูรู้คุณนี่
9 x8 Z) v- z! C' C1 }( j9 H# Aเป็นเหตุให้เราไม่ลงนรก
  S% M' I0 E( o7 H# tท่านจะรับหรือไม่รับนี่ไม่สำคัญ
! ^4 x, A+ U1 t/ x0 |สำคัญที่ว่า ให้ใจของเราตามระลึกถึงอยู่เสมอก็แล้วกัน

& ^" q! S. Q2 D$ F) N" Y- ^1 q# v/ y$ F8 t: T( P2 W, P& I' C$ ^
+ g& b: ?: Y9 }* z

" i, C$ d+ h# }" X# t" K
# ]9 w9 D5 p! v. R6 t6 x2 F& \คัดลอกเนื้อหาจาก5 G0 g% f1 d) E' n, |
หนังสือเรื่อง การอุทิศส่วนกุศล หน้าที่ ๓-๙
# s! Q, \. u. d' _โดย หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร

Rank: 1

การขออโหสิกรรมแค่คิดยังไม่พอ ต้องขออโหสิกรรมซึ่งหน้ากัน) g2 Y: |; f5 s; b- W/ y5 s
ถาม : กรณีที่เรา..... คิดให้อภัยทานเขาและขอขมาเขา ถือว่าเราทำผิดไหมครับ ?
% t6 X/ F3 d7 n5 a6 W. F" z4 \
$ K" w+ w! T! M3 D5 J5 mตอบ : ผิดตั้งแต่แรกแล้ว ถึงคุณจะตั้งใจอย่างไร ถ้ากรรมนั้นก็ยังไม่หมด แรงกรรมก็ยังส่งไปเรื่อย มีอยู่ทางเดียวคือวางอุเบกขา สงเคราะห์ได้ก็สงเคราะห์ สงเคราะห์ไม่ได้ก็ปล่อยไป ยกเว้นว่าคุณจะไปทำพิธีขออโหสิกรรมซึ่งหน้ากัน ถ้าเขาเอ่ยปากอโหสิแล้วกรรมถึงจะขาดลง ถ้ากระแสกรรมยังไม่ขาด กรรมนั้นก็ตามส่งผลไปเรื่อย
8 \" J7 l( ]2 J  Z! sสนทนากับพระครูวิลาศกาญจนธรรม (พระอาจารย์เล็ก สุธมฺมปญฺโญ)
) \' W0 b* s$ q- Lเก็บตกจากบ้านวิริยบารมี ต้นเดือนกันยายน ๒๕๕๕4 P# C9 h+ A+ h  Q

% V! q9 \+ y2 f2 N, V

) J: D' p" I; B: b

Rank: 1

หลวงพ่อฤาษีลิงดำ $ u* r+ f$ V9 s2 r3 h4 y* Y
เจ้ากรรมนายเวรหลวงพ่อครับ คำว่าเจ้ากรรมนายเวรนี่หมายถึงใครบ้างครับ...?
( Q% Z) }4 @4 A% Z- ~$ C
5 W) J0 ]; G/ W- D% F/ P
เจ้ากรรมนายเวรนี่ตัวตนมันไม่มีหรอก
8 d4 v  V$ O& r3 f# xมันเป็นเรื่องของกรรมที่เป็นอกุศลกรรม ที่เราทำไว้
9 v( p; C# _% k! I0 ^- Sตัวจริงที่เราเคยทำเขาไม่มายุ่งกับเราหรอก
. Z4 b+ t* g1 M
( }9 _! t' Y4 O6 |/ w5 _อย่างเราฆ่าปลาตาย ปลาเขาก็ไม่มายุ่งกับเรา
0 x; O; b4 w/ N8 m- Eแต่ปรากฏของกรรมมันเล่นงานเรา
8 ~# d' q0 @  s8 P5 M3 Nถ้าปลานั่งจองเวรคอยลงโทษเราแกก็ไม่ต้องไปเกิดล่ะ2 N( m) O1 w6 |- T
) M; s" A- q; ~- s
คำว่าเจ้ากรรมนายเวรนี่นะ ถ้าพูดตามส่วนตัวจะว่าไม่มีก็ไม่ได้
5 O# `! Q' w$ U# {! t6 o5 P7 e! d' d  b- d$ ]) _; u* q
ถ้าหากเราฝึกขั้นสุกขวิปัสสโก เราจะบอกว่าไม่มีตัว เพราะไม่เคยเห็น
# A- }$ Z" Z+ B6 Hแต่ว่าตั้งแต่ เตวิชโช ขึ้นไปเขาเห็น
- x5 N( }  i; q" t: M5 cต้องพูดตามขั้นนะ ถ้าเราว่ากันตามหนังสือก็คิดว่าจะไม่มี
9 m2 S0 T3 F) j2 G8 D- I9 z4 V+ ^1 y* \* t; p" _
......................1 L) X4 @/ v: ?# A% L5 e( k
% y0 r5 M. X1 i# n9 O7 W2 \( h9 _
แล้วถ้าเราอุทิศส่วนกุศลให้แก่เจ้ากรรมนายเวรเขาจะได้รับไหมคะ...?1 D2 L5 _$ T5 i# G6 T0 }

! N- }" s! t3 _9 w( W$ p+ q( {- kคือว่าอุทิศส่งไปให้เขาจะได้รับหรือไม่ได้ก็ตาม : K6 q9 v% ^/ C7 h# Q, R: _. U1 F
บุญที่เราทำเป็นผลให้เกิดความสุข & Y5 }* ?6 V3 t% O3 m
ไอ้กรรมต่างๆ ที่เป็นอกุศลที่เราทำไปแล้ว เราไปยั้งมันไม่ได้ 7 ?. D# f) e. k# ~- ^
แต่ทว่าถ้าเราทำกรรมดีมีกำลังเหนือมันก็กวดไม่ทันเหมือนกัน
3 ^) O2 X- v+ d/ \1 }- t* f9 ?: W3 p3 J0 s3 I+ P& |" I7 Z
สำหรับคำอุทิศส่วนกุศลที่ใช้อยู่เดียวนี้ยาวเหมือนกันแต่ยาวตามที่ท่านบอก
  ~5 g7 s  o9 W) K* w; B4 K  j. iบทอุทิศส่วนกุศลท่อนแรก ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรนั่น หลวงพ่อปู่โต มาบอก
: T+ ?$ E/ N- e: |) |$ wแล้วก็บทอุทิศส่วนกุศลอีก 3 ท่อน พระยายมราช มาบอก- ~* A3 ~( V- Q9 ~$ \

/ C" L1 v2 H) K4 N2 Qสำหรับตอนที่สองให้โมทนา
4 R  a9 W. ^# Q! }ท่านบอกว่าเวลาอุทิศอุทิศส่วนกุศลน่ะ ขอบอกให้ผมเป็นพยานด้วย
# V' f  J3 t- S0 zท่านบอกว่าลูกหลานของท่าน ก็คือลูกหลานของผม และมันก็ไม่แน่นักหรอก # c. j* i4 F- }2 D
บางทีไปอยู่สำนักผมมันอาจจะลืมก็ได้ เขาอาจจะนึกถึงบุญไม่ออก 0 `& J% Q8 u* q& I
ถ้านึกถึงบุญไม่ออก ถ้านึกไม่ออกก็มีความจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องปล่อยให้ตกนรก
1 K/ v3 ]- D- A$ H0 pหากว่าถาม 3 เที่ยวนึกไม่ออก
$ u( h3 o& W6 L+ w# g& V; g( qผมจะได้ประกาศว่า นี่เขาเคยบอกฉันไว้ เวลาทำบุญเขาบอกให้ฉันเป็นพยาน ' n, k+ Z% s) _8 d$ l# k+ `
แล้วก็ประกาศกุศลนั้น ก็ได้ไปสวรรค์) R  Z; w6 n* Z& n* _3 X# A

- B8 l+ d3 R9 N( _( u* \นายเวร
* c* z! |1 g- Z1 F" z( pเรื่องมันมีอยู่ อย่างพระถูกหอกตาย เรื่องนี้มีอยู่ในพระสูตร คือว่ามันมีอยู่ว่า
4 N8 L4 G7 m( A! b! f2 X, tพระองค์ ท่านกำลังเย็บจีวร เย็บไปๆ ไอ้ตัวเรือดมันอยู่ในตะเข็บจีวร ท่านไม่เห็น ' ~* ?& Y/ t9 f. D
เข็มก็ไปทิ่มเรือดตาย อย่างนี้ถือว่าเป็นบาปลงนรกไม่ได้ เพราะเจตนาไม่มี ไม่รู้ว่าอยู่ ใช่ไหม
) n5 z; h" W2 v+ |7 T* R# s% b9 G; o% S1 `& J2 N( G
แต่ก็เป็นบังเอิญเมื่อต่างคนต่างตาย เจ้าเรือดก็ตายไปก่อน พระก็อยู่นานไม่ได้หรอกนะ
, l1 I6 y9 s) U! Y6 r& D1 Tไปเกิดชาติหลังเป็นคนด้วยกันทั้งคู่
: [4 J% d7 W% X# g( f& n) h7 l* tเจ้าเรือดไปเกิดเป็นนายพรานป่าฆ่าเนื้อ พระก็ไปเกิดเป็นคน แต่ว่าบวชพระ1 b7 c4 K9 O9 j

- G% ^# D. F  S) V( P0 u% F" t& M: Sต่อมาวันหนึ่ง พระเดินสวนทางมาเจอนายพราน เห็นพรานถือหอกเกาะกะๆ - _' v0 I8 h9 W" g
ท่านก็นึกหวาดเสียว ดีไม่ดีแกบ้าๆ บวมๆ จิ้มตาย ใช่ไหม ก็เลยหลบเข้าพุ่มไม้
# j7 C9 |3 Y: Hพรานแกฆ่าสัตว์ก็จริงแต่จิตแกก็ดี ถือว่าพระเป็นพระ แกเดินมาเข้าไปนึก- _1 x; i/ m2 R2 Y$ q
เอ๊ะ...พระนี่น่าจะสวนกับเราตอนนี้ เวลานี้ท่านไปไหน . O: v. s# q; X% h7 C4 \8 ~
หรือบางทีท่านเห็นเราถือหอกเดินมาท่านจะกลัวเรามั้ง ไอ้หอกจัญไร
5 U5 O' g  ?, U! f) [1 q- `) E6 Kพุ่งไว้ตรงนี้ก่อน เลยพุ่งหอกเข้าไปในพุ่มไม้ แล้วเดินไปมือเปล่าไป
. J' q" n, J, `9 L/ D# J+ Y: @ไอ้หอกระยำดันจิ้มมาที่อกพระพอดี
  e, H/ r7 l( l- _* Mนี่ไอ้นี่จะถือว่าเป็นกรรมไม่ได้ ต้องถือว่าเป็นเวร $ Q2 g" d- i, F# v! |
ถ้ากรรมก็ดึงลงอบายภูมิ นี่เป็นเวรมาสนองกัน
% R1 @6 b3 B' H! a# v) o
; l; C3 ~; `2 Wโดย ...หลวงพ่อฤาษีลิงดำ หนังสืออุทิศส่วนกุศล

Rank: 1

อนุโมทนาสาธุครับ ท่าน webmaster ด้วยครับ สาธุครับ

Rank: 1

พอดีอ่านในหนังสือเล่มนึึงค่ะเจอศัพท์คำว่า "เชื่อมบุญ"  และ "โอนบุญ"  มีความแตกต่างกับสองอย่างแรกอย่างไรคะ

Rank: 9Rank: 9Rank: 9

ในการ "เบิกบุญ" ต้องเข้าใจว่า บุญเราไปอยู่ที่ไหน บุญไปอยู่ที่สังสารวัตหน้า หรือภพหน้า เหมือนชาตินี้ เรากินบุญชาติก่อน แล้วบุญก็ฝังอยู่จิตเจตสิกของเรา และบุญก็ถูกบัญทึกใน สามภพ คือ ยมโลก เทวโลก พรหมโลก เช่น ถ้าเราทำบุญด้านกรรมฐาน ก็จะลิ้งค์ไปที่ พรหมโลก โดยมีท่านท้าวมหาพรหมดูแลอยู่ เป็นต้น เพราะฉะนั้นในการจะเบิกบุญต้องอธิษฐานจิตว่า "ขอบุญที่กระทำ ณ โอกาสนี้ ที่จะส่งไปยังภพหน้า จงมาสำเร็จแก่ข้าพเจ้าในชาติปัจจุบันด้วยเทอน" ด้วยการอธิษบานจิตนี้่บุญก็จะส่งกลับมาทำให้เกิดความคล่องตัวปราถนาอะไรสำเร็จ แต่เราเองก็อย่าเบิกจนเพลินไม่ทำต่อหละ ก็ต้องทำต่อยอดให้มากยิ่งขึ้น ...
  y: g" x6 i( r& X

! S$ W" ?6 e( w4 Iส่วนการ "อุทิศบุญ" นั้นเราจะอุทิศบุญให้กับเจ้ากรรมนายเวรคนอื่นไม่ได้ ตามหลักการคือ เขาไม่รู้จักเรา แล้วจะเอาของที่เราให้ได้อย่างไร เพราะคนที่เขารู้จักคือ แม่เรา เพราะฉะนั้น เราทำบุญต้องบอกให้แม่เรารับรู้ก่อน แล้วให้แม่เราอุทิศต่อ แบบนี้ถึงจะถูก เจ้ากรรมนายเวรของใครของมัน ก็ชดใช้กันไปอุทิศกันไป เหมือนเราเอาเงินให้แม่ แล้วแม่ก็เอาเงินนั้นถือว่าเป็นของแม่ ไปใช้หนี้กับคนที่แม่เป็นหนี้ คือ เจ้ากรรมและนายเวร นั้นเอง ส่วนเจ้ากรรมนายเวรของเรา เราต้องฉลาดหน่อย ต้องอธิษฐานกำหนดจิตบอกว่า "ขอบุญใดที่จะเกิดกับข้าพเจ้ามากน้อยเพียงใด ขอบุญนั้นจงสำเร็จแด่เจ้ากรรมนายเวรของข้าพเจ้าเช่นกัน ขอให้มีความสุข ในทุกๆ ครั้งที่ข้าพเจ้าทำบุญ ถึงแม้จะลืมอุทิศด้วยจิตที่กำหนดในเจตสิกนี้ จงเป็นไปโดยอัตโนมัติ" เมื่อกำหนดแบบนี้ ไม่ต้องกลัวว่าจะลืมอุทิศเพราะเรากำหนดจิตและสั่งจิตล่วงหน้าแล้ว และมั่นดับจิตเจตสิก โดยกำหนดว่า "เนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะ ข้าพเจ้าไม่ขอมีเวรมีกรรมต่อผู้ใดอีกต่อไป ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป" แบบนี้เรียกว่ากำหนดดับจิตเจตสิก" d0 f6 W* \& \$ |
% q5 [& D- C& \) r% C, p0 a
4 Q* U; O7 d: g8 j8 \# c
วิธีการดับจิตเจตสิก
- }  w, G1 H' A* N: N$ Mเวลาเรานั่งๆ ไปก็นึกถึงเวรกรรมที่ได้ทำ แล้วก็กำหนดลบจิตเจตสิกไปว่า
! R8 q2 U3 V# n( M8 X, B2 G' A; {) {"เนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะ ข้าพเจ้าไม่ขอมีเวรมีกรรมต่อผู้ใดอีกต่อไป ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป" ทำแบบนี้จนมันนึกไม่ออกทำยังไงก็นึกไม่ออกแบบนี้ กรรมที่ติดในเจตสิกของเราก็ได้ หายไปแล้วดับไปแล้ว ทำบ่อยๆ ก็มีแต่กรรมดีเข้าสนอง ก็ทำให้เรามีความสุข
5 J) K7 R/ v$ H7 l0 t

Rank: 1

Rank: 1

อนุโมทนาสาธุครับ สาธุครับ ได้ความรูัอีกแล้วครับ สาธุ

Rank: 1

ตอบกระทู้ yuiflukefo ตั้งกระทู้6 J, A: L7 M( c) `# B1 G6 X

( r" Q( W  d9 \5 Qจากคำถามผมขอตอบแบบนี้ก็แล้วกัน  จากประสบการณ์ที่ผ่ามมา ทำให้ผมได้เข้าใจว่าการ อุทิศบุญ กับการเบิกบุญมีความแตกต่างกัน คือ
$ e& m% D9 S) W0 `! K"อุทิศบุญ" คือ การที่ให้บุญผู้อื่น(ผู้ที่ไม่มีกายหยาบแล้ว) ในขณะที่เรานั้นกำลังสร้างบุญ เช่น ตักบาตร ปล่อยสัตว์ ซื้อของให้แม่ ตักน้ำให้แม่ สวดมนต์ นั่งสมาธิ และอื่นๆมากมาย ในขณะที่เรากำลังสร้างบุญ จะเกิดแสงสีขาวสว่างวาบออกมา จะคงสภาพอยู่ประมาณ ๓ วินาที ระหว่างนี้ให้เราคิดทันทีว่า "บุญนี้ให้แก่...(ผู้ที่เราจะให้)........" บุญที่เราทำก็จะไปถึงผู้ที่เราให้ทันทีแล้วบุญที่ให้เขาจะสะท้อนกลับมาสู่ตัวเราอีกทีหนึ่ง
8 a; D% p5 l5 C"การเบิกบุญ" คือ การที่เราให้บุญคนอื่นในขณะที่เราไม่ได้สร้างบุญ โดยปกติแล้วบุญที่เราสร้างจะถูกนำไปเก็บ ณ สถานที่หนึ่ง ที่เรียกกันว่าธนาคารบุญ โดยทั่วไปหากเราต้องการเบิกเงินเราต้องไปแจ้งความประสงค์ที่นายธนาคารเพราะนายธนาคารจะมีอำนาจในการเบิกจ่ายเงิน ธนาคารบุญก็เช่นกันเราขะขอเบิกบุญเราก็ต้องแจ้งที่นายธนาคารที่มีอำนาจแทนการเบิกจ่าย นายธนาคารก็จะมีใครละที่จะมีอำนาจ ดัง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์  โดยเราอธิฐานว่า "ข้าพเจ้าขออำนาจพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โปรดดลบันดาลให้บุญของข้าพเจ้าลงมาส่งไปยัง...(ผู้ที่เราต้องการให้)....." เท่านี้ก็เสร็จขบวนการ
‹ ก่อนหน้า|ถัดไป

สมาชิกที่เพิ่งอ่านหัวข้อนี้

คุณต้องเข้าสู่ระบบก่อนจึงจะสามารถตอบกลับ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

แดนนิพพาน ดอท คอม

GMT+7, 2025-2-23 04:58 , Processed in 0.027525 second(s), 14 queries .

Powered by Discuz! X1.5

© 2001-2010 Comsenz Inc. Thai Language by DiscuzThai! Team.