แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน"

 

   

ค้นหา
ดู: 10837|ตอบ: 21
go

ถามเรื่องการอุทิศบุญ [คัดลอกลิงค์]

Rank: 1

สงสัยค่ะว่าดวงวิญญาณนายเวรทั้งหลายที่เค้าตามเรานั้นเค้าจะเข้าใจความรู้สึกของเราหรือเรื่องราวในชีวิตประจำวันที่เราดำเนินกันอยู่รึเปล่าคะ เช่นปกติเวลาเราทำบุญหรือสวดมนต์เราก็จะอุทิศบุญให้กับนายเวรตัวเรา เทวดารักษาตัวเรา ไล่ไปเรื่อยๆ ถึงคนในบ้านด้วย ทีนี้ช่วงนี้เราจะอุทิศให้นายเวรแม่เรากับเทวดาแม่เราคนเดียวเนื่องจากช่วงนี้แม่เราป่วยเราก็เลยว่าให้ของแม่ก่อนของตัวไว้ทีหลัง(คิดเองว่าน่าจะเป็นการช่วยแม่ได้อีกทางนึงเพราะให้ทำเองคงยากมาก) ทีนี้นายเวรของเราเค้าจะโกรธมั๊ยหรือคิดยังไงประมาณว่าฉันเคยได้แล้วทำไมไม่ได้หรือเคยให้ฉันอยู่ๆ ทำไมไม่ให้รึเปล่า - ~1 U: B. _( u, c

Rank: 1

ตอบกระทู้ yuiflukefo ตั้งกระทู้( ?4 h, c* w- r6 S1 P

  P3 f2 j9 P5 R* b$ L9 ~/ Nสำหรับเรื่องนี้ตอบไม่ยากครับ โดยปกติแล้วการที่ใครสักคนมาจองเวรกันได้ ก็ต้องมีความแค้นต่อกัน ส่วนจากสาเหตุอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่กระทำไว้  ปกตินายเวรเขาอยากเห็นเราลำบาก ไม่ว่าจะเป็นกาย หรือใจก็ตาม เขาย่อมพึงพอใจอยู่แล้ว เพราะเขามีหน้าที่มาทำให้เราเดือดร้อน ส่วนเราจะอุทิศบุยให้นายเวของแม่จนลืมของเรานั้น อันนี้ไม่สมควร ถ้าใช้การอุทิศบุญให้ไม่ได้ก็เบิกบุญก็ได้นี้

Rank: 1

แล้ว  "อุทิศบุญ"  กับ "เบิกบุญ" ต่างกันยังไงคะ  

Rank: 1

ตอบกระทู้ yuiflukefo ตั้งกระทู้0 V! ~2 @' O6 i0 A& }

# a2 F* O1 S5 k, G* P1 Aจากคำถามผมขอตอบแบบนี้ก็แล้วกัน  จากประสบการณ์ที่ผ่ามมา ทำให้ผมได้เข้าใจว่าการ อุทิศบุญ กับการเบิกบุญมีความแตกต่างกัน คือ& ^  o. J" j' S! m
"อุทิศบุญ" คือ การที่ให้บุญผู้อื่น(ผู้ที่ไม่มีกายหยาบแล้ว) ในขณะที่เรานั้นกำลังสร้างบุญ เช่น ตักบาตร ปล่อยสัตว์ ซื้อของให้แม่ ตักน้ำให้แม่ สวดมนต์ นั่งสมาธิ และอื่นๆมากมาย ในขณะที่เรากำลังสร้างบุญ จะเกิดแสงสีขาวสว่างวาบออกมา จะคงสภาพอยู่ประมาณ ๓ วินาที ระหว่างนี้ให้เราคิดทันทีว่า "บุญนี้ให้แก่...(ผู้ที่เราจะให้)........" บุญที่เราทำก็จะไปถึงผู้ที่เราให้ทันทีแล้วบุญที่ให้เขาจะสะท้อนกลับมาสู่ตัวเราอีกทีหนึ่ง
9 b% H" b9 J% f2 e5 x- ?) S"การเบิกบุญ" คือ การที่เราให้บุญคนอื่นในขณะที่เราไม่ได้สร้างบุญ โดยปกติแล้วบุญที่เราสร้างจะถูกนำไปเก็บ ณ สถานที่หนึ่ง ที่เรียกกันว่าธนาคารบุญ โดยทั่วไปหากเราต้องการเบิกเงินเราต้องไปแจ้งความประสงค์ที่นายธนาคารเพราะนายธนาคารจะมีอำนาจในการเบิกจ่ายเงิน ธนาคารบุญก็เช่นกันเราขะขอเบิกบุญเราก็ต้องแจ้งที่นายธนาคารที่มีอำนาจแทนการเบิกจ่าย นายธนาคารก็จะมีใครละที่จะมีอำนาจ ดัง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์  โดยเราอธิฐานว่า "ข้าพเจ้าขออำนาจพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โปรดดลบันดาลให้บุญของข้าพเจ้าลงมาส่งไปยัง...(ผู้ที่เราต้องการให้)....." เท่านี้ก็เสร็จขบวนการ

Rank: 1

อนุโมทนาสาธุครับ สาธุครับ ได้ความรูัอีกแล้วครับ สาธุ

Rank: 1

Rank: 9Rank: 9Rank: 9

ในการ "เบิกบุญ" ต้องเข้าใจว่า บุญเราไปอยู่ที่ไหน บุญไปอยู่ที่สังสารวัตหน้า หรือภพหน้า เหมือนชาตินี้ เรากินบุญชาติก่อน แล้วบุญก็ฝังอยู่จิตเจตสิกของเรา และบุญก็ถูกบัญทึกใน สามภพ คือ ยมโลก เทวโลก พรหมโลก เช่น ถ้าเราทำบุญด้านกรรมฐาน ก็จะลิ้งค์ไปที่ พรหมโลก โดยมีท่านท้าวมหาพรหมดูแลอยู่ เป็นต้น เพราะฉะนั้นในการจะเบิกบุญต้องอธิษฐานจิตว่า "ขอบุญที่กระทำ ณ โอกาสนี้ ที่จะส่งไปยังภพหน้า จงมาสำเร็จแก่ข้าพเจ้าในชาติปัจจุบันด้วยเทอน" ด้วยการอธิษบานจิตนี้่บุญก็จะส่งกลับมาทำให้เกิดความคล่องตัวปราถนาอะไรสำเร็จ แต่เราเองก็อย่าเบิกจนเพลินไม่ทำต่อหละ ก็ต้องทำต่อยอดให้มากยิ่งขึ้น ...1 n4 d" c: Y4 |1 l' W$ [
+ @' X7 u- s5 B, c, x
ส่วนการ "อุทิศบุญ" นั้นเราจะอุทิศบุญให้กับเจ้ากรรมนายเวรคนอื่นไม่ได้ ตามหลักการคือ เขาไม่รู้จักเรา แล้วจะเอาของที่เราให้ได้อย่างไร เพราะคนที่เขารู้จักคือ แม่เรา เพราะฉะนั้น เราทำบุญต้องบอกให้แม่เรารับรู้ก่อน แล้วให้แม่เราอุทิศต่อ แบบนี้ถึงจะถูก เจ้ากรรมนายเวรของใครของมัน ก็ชดใช้กันไปอุทิศกันไป เหมือนเราเอาเงินให้แม่ แล้วแม่ก็เอาเงินนั้นถือว่าเป็นของแม่ ไปใช้หนี้กับคนที่แม่เป็นหนี้ คือ เจ้ากรรมและนายเวร นั้นเอง ส่วนเจ้ากรรมนายเวรของเรา เราต้องฉลาดหน่อย ต้องอธิษฐานกำหนดจิตบอกว่า "ขอบุญใดที่จะเกิดกับข้าพเจ้ามากน้อยเพียงใด ขอบุญนั้นจงสำเร็จแด่เจ้ากรรมนายเวรของข้าพเจ้าเช่นกัน ขอให้มีความสุข ในทุกๆ ครั้งที่ข้าพเจ้าทำบุญ ถึงแม้จะลืมอุทิศด้วยจิตที่กำหนดในเจตสิกนี้ จงเป็นไปโดยอัตโนมัติ" เมื่อกำหนดแบบนี้ ไม่ต้องกลัวว่าจะลืมอุทิศเพราะเรากำหนดจิตและสั่งจิตล่วงหน้าแล้ว และมั่นดับจิตเจตสิก โดยกำหนดว่า "เนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะ ข้าพเจ้าไม่ขอมีเวรมีกรรมต่อผู้ใดอีกต่อไป ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป" แบบนี้เรียกว่ากำหนดดับจิตเจตสิก
% I2 n  C6 i  v. o9 f( [& M4 V6 E

+ O' z1 O; |$ ]; ~( [# G: Hวิธีการดับจิตเจตสิก
; M  }9 T% R8 ^1 B# B2 Zเวลาเรานั่งๆ ไปก็นึกถึงเวรกรรมที่ได้ทำ แล้วก็กำหนดลบจิตเจตสิกไปว่า / P* `* C, K( I# k: c
"เนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะ ข้าพเจ้าไม่ขอมีเวรมีกรรมต่อผู้ใดอีกต่อไป ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป" ทำแบบนี้จนมันนึกไม่ออกทำยังไงก็นึกไม่ออกแบบนี้ กรรมที่ติดในเจตสิกของเราก็ได้ หายไปแล้วดับไปแล้ว ทำบ่อยๆ ก็มีแต่กรรมดีเข้าสนอง ก็ทำให้เรามีความสุข

3 I  \/ d9 n/ x, c/ K

Rank: 1

พอดีอ่านในหนังสือเล่มนึึงค่ะเจอศัพท์คำว่า "เชื่อมบุญ"  และ "โอนบุญ"  มีความแตกต่างกับสองอย่างแรกอย่างไรคะ

Rank: 1

อนุโมทนาสาธุครับ ท่าน webmaster ด้วยครับ สาธุครับ

Rank: 1

หลวงพ่อฤาษีลิงดำ 9 a- `: U" {" s: t4 ~( Q9 j4 M0 e
เจ้ากรรมนายเวรหลวงพ่อครับ คำว่าเจ้ากรรมนายเวรนี่หมายถึงใครบ้างครับ...?4 I- m& u6 g& s* {  I3 W
* k9 z/ D5 c4 m; B, a
เจ้ากรรมนายเวรนี่ตัวตนมันไม่มีหรอก4 {" {  ?. b" h# @
มันเป็นเรื่องของกรรมที่เป็นอกุศลกรรม ที่เราทำไว้
# w5 V! C3 l! K) y) [+ }" eตัวจริงที่เราเคยทำเขาไม่มายุ่งกับเราหรอก) B. A# R5 d+ a, [3 ]8 Q% ?
3 G% W1 }. b* P
อย่างเราฆ่าปลาตาย ปลาเขาก็ไม่มายุ่งกับเรา
5 N( Y. o0 t* ]- i" ]( u8 C- cแต่ปรากฏของกรรมมันเล่นงานเรา + p+ @2 H$ |3 B  Z" M4 H
ถ้าปลานั่งจองเวรคอยลงโทษเราแกก็ไม่ต้องไปเกิดล่ะ4 X: u! b2 I& X; R% H% K: u. n& i/ X

7 Q7 U; @4 }" H% i# cคำว่าเจ้ากรรมนายเวรนี่นะ ถ้าพูดตามส่วนตัวจะว่าไม่มีก็ไม่ได้ 5 Y# l; |5 b! n+ z) a
! s5 K* m$ S4 L8 R! b
ถ้าหากเราฝึกขั้นสุกขวิปัสสโก เราจะบอกว่าไม่มีตัว เพราะไม่เคยเห็น ( a2 J  A& ]2 O: Y% Z; U
แต่ว่าตั้งแต่ เตวิชโช ขึ้นไปเขาเห็น
( n) m* u8 F( ~& i% [- C& m4 Aต้องพูดตามขั้นนะ ถ้าเราว่ากันตามหนังสือก็คิดว่าจะไม่มี6 I  _9 P* s) {

7 l2 v; ?: k# H: n8 s/ V......................7 m7 ~' l, g& _6 B1 i2 S; G$ L
" I- ?5 e: B4 p6 ?
แล้วถ้าเราอุทิศส่วนกุศลให้แก่เจ้ากรรมนายเวรเขาจะได้รับไหมคะ...?
4 k0 B6 G/ n6 O7 t
8 H( L- |$ K# w% P5 H8 Z( |คือว่าอุทิศส่งไปให้เขาจะได้รับหรือไม่ได้ก็ตาม ' k7 {9 t! G! K: N3 O
บุญที่เราทำเป็นผลให้เกิดความสุข
, z* d. B& s% p7 _$ Eไอ้กรรมต่างๆ ที่เป็นอกุศลที่เราทำไปแล้ว เราไปยั้งมันไม่ได้
. G1 g/ ^  r4 h& nแต่ทว่าถ้าเราทำกรรมดีมีกำลังเหนือมันก็กวดไม่ทันเหมือนกัน
6 F: [6 b" Z8 A. u& C. m9 G
& ^- r2 h7 d8 A  Yสำหรับคำอุทิศส่วนกุศลที่ใช้อยู่เดียวนี้ยาวเหมือนกันแต่ยาวตามที่ท่านบอก5 t. I/ B: B( G$ K  G3 Z3 G
บทอุทิศส่วนกุศลท่อนแรก ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรนั่น หลวงพ่อปู่โต มาบอก6 v+ }' C" `- C1 O; v1 ^8 ?- V& u( S
แล้วก็บทอุทิศส่วนกุศลอีก 3 ท่อน พระยายมราช มาบอก& }0 E( h6 h! |5 ^) P  ?( p

1 X& J, c6 l6 g6 L9 b" `2 cสำหรับตอนที่สองให้โมทนา 5 K6 [" Y! k  ]! {9 L8 u
ท่านบอกว่าเวลาอุทิศอุทิศส่วนกุศลน่ะ ขอบอกให้ผมเป็นพยานด้วย
- V) o. h2 K/ ^ท่านบอกว่าลูกหลานของท่าน ก็คือลูกหลานของผม และมันก็ไม่แน่นักหรอก . C5 P( ]# p( s( o! ?- J
บางทีไปอยู่สำนักผมมันอาจจะลืมก็ได้ เขาอาจจะนึกถึงบุญไม่ออก
6 _% l7 K3 H7 o8 q4 F. Qถ้านึกถึงบุญไม่ออก ถ้านึกไม่ออกก็มีความจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องปล่อยให้ตกนรก9 u+ \% P5 l+ y9 e2 g' A/ M+ `
หากว่าถาม 3 เที่ยวนึกไม่ออก
3 R2 R1 V4 v0 \- r7 G. uผมจะได้ประกาศว่า นี่เขาเคยบอกฉันไว้ เวลาทำบุญเขาบอกให้ฉันเป็นพยาน ) ^0 G2 [- X# |5 x# a8 |6 F& a" @3 v
แล้วก็ประกาศกุศลนั้น ก็ได้ไปสวรรค์) N- \7 P% L) r3 U+ [  o" z/ `4 q4 z

" s/ z! L/ L9 r  g2 ~2 V1 ^9 qนายเวร
0 e8 s& J& h1 _" C3 N$ zเรื่องมันมีอยู่ อย่างพระถูกหอกตาย เรื่องนี้มีอยู่ในพระสูตร คือว่ามันมีอยู่ว่า
0 i  I& ~$ q4 J3 ^3 w8 b5 xพระองค์ ท่านกำลังเย็บจีวร เย็บไปๆ ไอ้ตัวเรือดมันอยู่ในตะเข็บจีวร ท่านไม่เห็น
- T  n/ E; d- v# @, d% ?เข็มก็ไปทิ่มเรือดตาย อย่างนี้ถือว่าเป็นบาปลงนรกไม่ได้ เพราะเจตนาไม่มี ไม่รู้ว่าอยู่ ใช่ไหม
5 l. E# L8 w4 l# ]0 V! ~: y8 w: {4 t$ v2 H* ]/ _% C
แต่ก็เป็นบังเอิญเมื่อต่างคนต่างตาย เจ้าเรือดก็ตายไปก่อน พระก็อยู่นานไม่ได้หรอกนะ
! I- M( h- H. s/ P( h% @ไปเกิดชาติหลังเป็นคนด้วยกันทั้งคู่ & K# W2 z4 m; g8 l: ~+ v$ K, t
เจ้าเรือดไปเกิดเป็นนายพรานป่าฆ่าเนื้อ พระก็ไปเกิดเป็นคน แต่ว่าบวชพระ
; @" D: y- h4 w7 c! j. R7 H; }- S* {0 B% I
ต่อมาวันหนึ่ง พระเดินสวนทางมาเจอนายพราน เห็นพรานถือหอกเกาะกะๆ 7 t+ B3 V! m) K: ~
ท่านก็นึกหวาดเสียว ดีไม่ดีแกบ้าๆ บวมๆ จิ้มตาย ใช่ไหม ก็เลยหลบเข้าพุ่มไม้0 }) @: Q& G1 `" u% R- v
พรานแกฆ่าสัตว์ก็จริงแต่จิตแกก็ดี ถือว่าพระเป็นพระ แกเดินมาเข้าไปนึก
/ v  u" V8 G: g2 W( k  uเอ๊ะ...พระนี่น่าจะสวนกับเราตอนนี้ เวลานี้ท่านไปไหน
1 {# m5 T- ?; q& hหรือบางทีท่านเห็นเราถือหอกเดินมาท่านจะกลัวเรามั้ง ไอ้หอกจัญไร ! {6 }3 @$ |: i7 O/ G% g
พุ่งไว้ตรงนี้ก่อน เลยพุ่งหอกเข้าไปในพุ่มไม้ แล้วเดินไปมือเปล่าไป ! m0 I+ D* l: Y, m3 \
ไอ้หอกระยำดันจิ้มมาที่อกพระพอดี4 H% F" J! m  |7 ?+ z* M
นี่ไอ้นี่จะถือว่าเป็นกรรมไม่ได้ ต้องถือว่าเป็นเวร
* {' V4 f; {( i! ~* Z9 ]1 Rถ้ากรรมก็ดึงลงอบายภูมิ นี่เป็นเวรมาสนองกัน
: C+ F: t; }. N" Z1 V! s  u: U/ {; |) T8 p, y7 P
โดย ...หลวงพ่อฤาษีลิงดำ หนังสืออุทิศส่วนกุศล
‹ ก่อนหน้า|ถัดไป

สมาชิกที่เพิ่งอ่านหัวข้อนี้

คุณต้องเข้าสู่ระบบก่อนจึงจะสามารถตอบกลับ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

แดนนิพพาน ดอท คอม

GMT+7, 2025-4-6 09:59 , Processed in 0.034271 second(s), 14 queries .

Powered by Discuz! X1.5

© 2001-2010 Comsenz Inc. Thai Language by DiscuzThai! Team.