- สมัครสมาชิกเมื่อ
- 2013-1-26
- เข้าสู่ระบบล่าสุด
- 2016-3-21
- สิทธิ์ในการอ่าน
- 10
- เครดิต
- 0
- โพสต์
- 162
- สำคัญ
- 0
- UID
- 10617

|
ต้นฉบับโพสต์โดย NOOKFUFU2 เมื่อ 2013-5-17 00:59 m% T' r0 d X, P9 c |4 v$ U
หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญ ... # f l: z2 Q6 V. J' D
- |- ^; @& q" _ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นครับ(จากคนปัญญาน้อยนิด ปฏิบัติก็ยังไม่ถึงไหนอภิญญาก็ยังไม่ได้) จากบทความที่ได้อ่านมีความน่าสนใจมากครับ แต่ผมอาจจะเข้าใจคลาดเคลือนอยู่ จากบทความในคำกล่าวที่ว่า "เพื่อในการปฏิบัติกัมมัฏฐานเป็นไปอย่างก้าวหน้า นักเรียนอภิญญาทุกคนจะต้องศึกษาหลักสูตรปริยัติให้เข้าใจเสียก่อน นักปฏิบัติที่เน้นแต่ปฏิบัติกรรมฐานอย่างเดียว จะเจริญก้าวหน้าในสมาธิได้ช้ากว่า นักปฏิบัติที่ศึกษาปริยัติมาจนเข้าใจแล้ว ค่อยมาเน้นการปฏิบัติกรรมฐานทีหลัง เหตุที่เป็นแบบนี้เพราะ การศึกษาปริยัติเปรียบเสมือนเป็นการศึกษาแผนที่นำทาง ก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติ นักปฏิบัติควรทำความเข้าใจกับเส้นทางที่จะมุ่งไปเสียก่อน ควรรู้ล่วงหน้าว่าจะต้องพบเจอกับสิ่งใดข้างทางบ้าง สิ่งใดที่จะเป็นอุสรรคขัดขวางการเดินทาง และจะต้องผ่านด่านทดสอบจิตใจอะไรบ้าง แผนที่ปริยัติถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้นักปฏิบัติรู้เส้นทางที่จะไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตนมุ่งหวัง และรู้ถึงสิ่งที่ตนจะต้องประสบล่วงหน้า รู้ที่จะเตรียมใจที่จะต้องฝ่าฟันไปให้ได้ เพื่อให้ได้สำเร็จอภิญญา 5 และ 6 และบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด (เป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย หรือเส้นชัยของนักเรียนอภิญญาทุกคน)" ; Q0 M7 E6 a" Q; M3 Z! c$ F
จากบทความดังกล่าวมาข้างต้น ผมก็ยังงงอยู่ ขออธิบายความสงสัยผมอย่างนี้ครับ ผมก็เคยได้ยินมาเหมือนกันว่า หลักของการศึกษา จะมีอยู่สามระดับ คือ ปริยัติ ปฎิบัติ ปฏิเวธ ทั้งนี้จากบทความบอกว่า ให้ศึกษาเรื่องของปริยัติ ก่อน เรื่องนี้ทำให้ผมนึกถึงพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หน้าที่ 118 ๕. เรื่องพระโปฐิลเถระ [๒๐๘] 4 b6 e! F, Y$ c0 j) o
ข้อความเบื้องต้น# Q) @8 @$ i- f4 H2 d
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระเถระ2 @. F/ W& T/ t5 _$ }- j
นามว่าโปฐิละ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " โยคา เว " เป็นต้น.' I9 }5 e. N7 s2 C( i1 V
รู้มากแต่เอาตัวไม่รอด8 I/ l0 p8 K1 v, b6 k9 t' E4 l( M
ดังได้สดับมา พระโปฐิละนั้นเป็นผู้ทรงพระไตรปิฎกในศาสนาของ
& v m" p% G E) fพระพุทธเจ้า ๗ พระองค์ บอกธรรมแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป. พระศาสดา
+ P8 }1 p% ]8 y6 Q3 V% jทรงดำริว่า " ภิกษุนี้ ย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ' เราจักทำการสลัดออก
3 r; p# l5 G& d1 Xจากทุกข์แก่ตน; เราจักยังเธอให้สังเวช." : }* J: W( s3 s& ^7 E T
จำเดิมแต่นั้นมา พระองค์ย่อมตรัสกะพระเถระนั้น ในเวลาที่พระ-
2 [! o3 o6 B# Y: h+ E7 aเถระมาสู่ที่บำรุงของพระองค์ว่า " มาเถิด คุณใบลานเปล่า, นั่งเถิด คุณ1 [+ W Y9 q% j1 e7 Q
ใบลานเปล่า, ไปเถิด คุณใบลานเปล่า, แม้ในเวลาที่พระเถระลุกไป ก็& @: I- w7 M3 C4 R
ตรัสว่า " คุณใบลานเปล่า ไปแล้ว." พระโปฐิละนั้นคิดว่า " เราย่อม
7 p2 ~# ?& [5 H! ^0 L* nทรงไว้ซึ่งพระไตรปิฎกพร้อมทั้งอรรถกถา, บอกธรรมแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป) h( [4 v# H/ `
ถึง ๑๘ คณะใหญ่, ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น พระศาสดายังตรัสเรียกเราเนือง ๆ4 [+ `" X- o7 j" L
ว่า ' คุณใบลานเปล่า ' พระศาสดาตรัสเรียกเราอย่างนี้ เพราะความไม่มี- t- ?. J# X) L
คุณวิเศษ มีฌานเป็นต้นแน่แท้." ท่านมีความสังเวชเกิดขึ้นแล้ว จึงคิดว่า; p9 k' _4 _4 @' C% y; z9 X
" บัดนี้ เราจักเข้าไปสู่ป่าแล้วทำสมณธรรม" จัดแจงบาตรและจีวรเอง9 H2 J2 S% v& E) ]/ [
ทีเดียว ได้ออกไปพร้อมด้วยภิกษุผู้เรียนธรรม แล้วออกไปภายหลังภิกษุ
2 L( }( b: R4 k3 R# ]+ N9 G9 }3 Sทั้งหมดในเวลาใกล้รุ่ง. พวกภิกษุนั่งสาธยายอยู่ในบริเวณ ไม่ได้กำหนด
: R( ~$ ^4 M7 p) g) mท่านว่า " อาจารย์." พระเถระไปสิ้นสองพันโยชน์แล้ว, เข้าไปหาภิกษุ, r7 f, w: I1 }% m* q
๓๐ รูป ผู้อยู่ในอาวาสราวป่าแห่งหนึ่ง ไหว้พระสังฆเถระแล้ว5 T; q& n* @' [3 p2 d5 r4 R* e" P
กล่าวว่า " ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของกระผม."
8 x. O$ D+ Z2 x) k i; bพระสังฆเถระ. " ผู้มีอายุ ท่านเป็นพระธรรมกถึก, สิ่งอะไรชื่อว่า
& {: d5 c8 `- D; E: Gอันพวกเราพึงทราบได้ ก็เพราะอาศัยท่าน, เหตุไฉนท่านจึงพูดอย่างนี้ ?"
& R3 x; d4 i% W1 w5 C; T1 ~พระโปฐิละ. ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงอย่าทำอย่างนี้,
# o& Y3 b7 S- X! o% U1 Xขอท่านจงเป็นที่พึ่งของกระผม.
1 u3 |( Q0 Y A, ]: x3 I' Aวิธีขจัดมานะของพระโปฐิละ
% m! ~3 Q! E6 Wก็พระเถระเหล่านั้นทั้งหมด ล้วนเป็นพระขีณาสพทั้งนั้น. ลำดับนั้น
- Y. n- h k8 K8 H' u2 u% wพระมหาเถระ ส่งพระโปฐิละนั้นไปสู่สำนักพระอนุเถระ ด้วยคิดว่า
# l; A) v' q6 r( X* c4 t" ภิกษุนี้มีมานะ เพราะอาศัยการเรียนแท้." แม้พระอนุเถระนั้นก็กล่าว, H. A2 T9 _# A @/ @" e3 {
กะพระโปฐิละนั้น อย่างนั้นเหมือนกัน. ถึงพระเถระทั้งหมด เมื่อส่ง [ b# ?8 v& [' T3 Q
ท่านไปโดยทำนองนี้ ก็ส่งไปสู่สำนักของสามเณรผู้มีอายุ ๗ ขวบ ผู้ใหม่" H- d( Z+ q7 K+ Y2 o, S
กว่าสามเณรทั้งหมด ซึ่งนั่งทำกรรมคือการเย็บผ้าอยู่ในที่พักกลางวัน.
2 ]/ q/ {7 h4 Z7 O* r& v$ Dพระเถระทั้งหลายนำมานะของท่านออกได้ ด้วยอุบายอย่างนี้.
3 y# L+ M F$ T4 V' O6 i; @- l U$ Nพระโปฐิละหมดมานะ
t$ l' y7 G6 _/ A8 e( b' y8 bพระโปฐิละนั้น มีมานะอันพระเถระทั้งหลายนำออกแล้ว 4 U( U+ B/ i3 w7 A# x/ b: M
จึงประคองอัญชลีในสำนักของสามเณรแล้วกล่าวว่า
( f: J; U* ]' ~* }" ท่านสัตบุรุษ ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของผม."7 l! J- g. U) [( q% l" M9 [0 [
สามเณร. ตายจริง ท่านอาจารย์ ท่านพูดอะไรนั่น, ท่านเป็น
% f3 ^" n& O% B# a. D+ eคนแก่ เป็นพหูสูต, เหตุอะไร ๆ พึงเป็นกิจอันผมควรรู้ในสำนักของท่าน4 U. K% b0 V) N( b
พระโปฐิละ. ท่านสัตบุรุษ ท่านอย่าทำอย่างนี้, 2 F# Y) O' Y9 L1 R( V; U
ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของผมให้ได้.# |" \8 H- f5 e! g5 E# b) P- Z
สามเณร. ท่านขอรับ หากท่านจักเป็นผู้อดทนต่อโอวาทได้ไซร้, ผมจักเป็นที่พึ่งของท่าน.
/ ]) @5 G, X* J' h4 L5 C5 i7 `* Iพระโปฐิละ. ผมเป็นได้ ท่านสัตบุรุษ, เมื่อท่านกล่าวว่า ' จงเข้า+ o) @3 `4 _+ q$ R
ไปสู่ไฟ,' ผมจักเข้าไปแม้สู่ไฟได้ทีเดียว.
8 D6 r" `' X k' U$ Q2 `พระโปฐิละปฏิบัติตามคำสั่งสอนของสามเณร % _! O/ B% B; i9 D: {
ลำดับนั้น สามเณรจึงแสดงสระ ๆ หนึ่งในที่ไม่ไกล แล้วกล่าวกะ3 u. S' T5 k4 `' m" ?
ท่านว่า " ท่านขอรับ ท่านนุ่งห่มตามเดิมนั่นแหละ จงลงไปสู่สระนี้."3 ^/ @* Z: a$ H2 H7 _
จริงอยู่ สามเณรนั้น แม้รู้ความที่จีวรสองชั้นซึ่งมีราคามาก อันพระเถระ; z' t" X: H) H/ s; E
นั้นนุ่งห่มแล้ว เมื่อจะทดลองว่า " พระเถระจักเป็นผู้อดทนต่อโอวาทได้
) `, Y3 e7 |3 t4 p( Mหรือไม่" จึงกล่าวอย่างนั้น. แม้พระเถระก็ลงไปด้วยคำ ๆ เดียวเท่านั้น.
! \% e' c8 S, ]: q- B: Eลำดับนั้น ในเวลาที่ชายจีวรเปียก สามเณรจึงกล่าวกะท่านว่า " มาเถิด, ^% b" y) }0 ~( E! c/ \! @* S# h
ท่านขอรับ" แล้วกล่าวกะท่านผู้มายืนอยู่ด้วยคำๆ เดียวเท่านั้นว่า " ท่าน0 |: c) F3 x4 l2 t& ]# H; B
ผู้เจริญ ในจอมปลวกแห่งหนึ่ง มีช่องอยู่ ๖ ช่อง, ในช่องเหล่านั้น เหี้ย
$ b4 v( s7 E" U0 U, m* M2 `" L( z; aเข้าไปภายในโดยช่อง ๆ หนึ่ง บุคคลประสงค์จะจับมัน จึงอุดช่องทั้ง ๕
6 y; |; Y* |9 Z& @; z4 J# G6 Cนอกนี้ ทำลายช่องที่ ๖ แล้ว จึงจับเอาโดยช่องที่มันเข้าไปนั่นเอง; บรรดา: u0 b- b6 k0 s
ทวารทั้งหก แม้ท่านจงปิดทวารทั้ง ๕ อย่างนั้นแล้ว จงเริ่มตั้งกรรมนี้ไว้5 A5 K( Z! x- {! }
ในมโนทวาร." ด้วยนัยมีประมาณเท่านี้ ความแจ่มแจ้งได้มีแก่ภิกษุผู้ % r8 b1 u1 ?. Z
เป็นพหูสูต ดุจการลุกโพลงขึ้นแห่งดวงประทีปฉะนั้น. พระโปฐิละนั้น7 ~( j5 ~1 A( w
กล่าวว่า " ท่านสัตบุรุษ คำมีประมาณเท่านี้แหละพอละ" แล้วจึงหยั่งลง/ _6 B" m! v( M
ในกรชกาย๒ ปรารภสมณะธรรม." y- l% B, [ o5 J
ทางเจริญและทางเสื่อมแห่งปัญญา b8 ?- T; F, j0 q
พระศาสดาประทับนั่งในที่สุดประมาณ ๑๒๐ โยชน์เทียว ทอด
( E4 q3 X+ S! Z# C2 }" Bพระเนตรดูภิกษุนั้นแล้วดำริว่า " ภิกษุนั้นเป็นผู้มีปัญญา (กว้างขวาง)
5 _/ z) _, C$ x) F' j' Fดุจแผ่นดิน ด้วยประการใดแล; การที่เธอตั้งตนไว้ด้วยประการนั้นนั่นแล
( ?8 R1 J$ M& I3 [( Y7 kย่อมสมควร." แล้วทรงเปล่งพระรัศมีไป ประหนึ่งตรัสอยู่กับภิกษุนั้น5 i6 T9 l6 l4 [* B
ตรัสพระคาถานี้ว่า :-
. l8 U( }) {5 D; G& G๕. โยคา เว ชายตี ภูริ อโยคา ภูริสงฺขโย เอตํ เทฺวธา ปถํ ญตฺวา ภวาย วิภวาย จตถตฺตานํ นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ./ l+ K" Z; ]- ?! y' L B8 n: T
" ปัญญาย่อมเกิดเพราะการประกอบแล, ความสิ้นไปแห่งปัญญาเพราะการไม่ประกอบ, บัณฑิตรู้2 W; B7 ~; [" k$ a
ทาง ๒ แพร่ง แห่งความเจริญและความเสื่อมนั่นแล้ว พึงตั้งตนไว้โดยประการที่ปัญญาจะเจริญขึ้นได้."
& M; R; a& u/ o7 Z3 H7 }จากเรื่องนี้ ทำให้ผมคิดว่าผมเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือเปล่า แม้แต่ครั้งพุทธกาล พระพุทธองค์ ท่านจะโปรดใคร ท่านก็จะเลือกบุคคลที่ปฎิบัติอยู่แล้ว ส่วนปริยัต ปฎิเวธ ท่านจะมาแนะนำภายหลัง ผมก็เลยงง แม้แต่ครูบาอาจารย์ เก่าๆท่านก็จะเน้นปฏิบัติ ก่อน แทบทั้งสิ้น ต่อมาท่านก็จะมาให้เรียน ปริยัติ ปฏิเวธ ภายหลัง แม้แต่ปู่ฤาษึลิงดำที่ก้เน้นปฎิบัติ ในความคิดผม ถ้าหากเราเรียนปริยัติก่อนเราก็จะได้แต่สัญญา (ความจำได้หมายรู้) แต่ไม่เข้าใจ ผมอาจมีความรู้น้อยเกินไปด้วยครับ |
|