แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน"

 

   

ค้นหา
ดู: 8669|ตอบ: 8
go

หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญาทุกคนต้องศึกษา [คัดลอกลิงค์]

Rank: 8Rank: 8

หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญาทุกคนต้องศึกษา
+ _" E4 Z+ w, g" Y6 J- T( b) z" z# n
เพื่อในการปฏิบัติกัมมัฏฐานเป็นไปอย่างก้าวหน้า นักเรียนอภิญญาทุกคนจะต้องศึกษาหลักสูตรปริยัติให้เข้าใจเสียก่อน นักปฏิบัติที่เน้นแต่ปฏิบัติกรรมฐานอย่างเดียว จะเจริญก้าวหน้าในสมาธิได้ช้ากว่า นักปฏิบัติที่ศึกษาปริยัติมาจนเข้าใจแล้ว ค่อยมาเน้นการปฏิบัติกรรมฐานทีหลัง เหตุที่เป็นแบบนี้เพราะ การศึกษาปริยัติเปรียบเสมือนเป็นการศึกษาแผนที่นำทาง $ F4 m4 d! G0 D9 v! u" L( x& ^
% v. b$ J. w2 z
ก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติ นักปฏิบัติควรทำความเข้าใจกับเส้นทางที่จะมุ่งไปเสียก่อน ควรรู้ล่วงหน้าว่าจะต้องพบเจอกับสิ่งใดข้างทางบ้าง สิ่งใดที่จะเป็นอุสรรคขัดขวางการเดินทาง และจะต้องผ่านด่านทดสอบจิตใจอะไรบ้าง 3 ]  n8 c  y) X9 k8 g& ~! N0 t

  K9 E! j' K; U. \- Q' I$ k$ e  Eแผนที่ปริยัติถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้นักปฏิบัติรู้เส้นทางที่จะไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตนมุ่งหวัง และรู้ถึงสิ่งที่ตนจะต้องประสบล่วงหน้า รู้ที่จะเตรียมใจที่จะต้องฝ่าฟันไปให้ได้ เพื่อให้ได้สำเร็จอภิญญา 5 และ 6 และบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด (เป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย หรือเส้นชัยของนักเรียนอภิญญาทุกคน)
1 E+ u& k5 `( g( ?- i. r$ J' t+ C- P4 n8 K. A9 R$ n6 H# h
ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธคืออะไร?
' o0 g7 e! Y* L" d% h/ X
" i& o9 t& W; b. rศีล ๕ ประกอบด้วย+ ~  c% T( O9 M
๑. ไม่ฆ่าสัตว์' h. H5 j/ n6 X, {  T
๒. ไม่ลักทรัพย์
: X+ Q0 W. w, p* M๓. ไม่ประพฤติผิดในกาม (ผิดลูก เมีย สามี คู่ครอง ของผู้อื่น)
( b4 J+ _, `& [. A9 g# B๔. ไม่พูดโกหก
( l/ H5 d3 y0 j5 n3 N6 D๕. ไม่ดื่มสุราของมึนเมา

& t% _4 C4 c( Q2 {
, J$ l2 g1 \6 P9 a  n/ a2 }ศีล ๘ ประกอบด้วย
, A( k8 W  e1 N) y! W8 {๑.
+ U2 Q+ p' ~0 x๒.  Y3 }3 H5 d4 f# N9 E. x
๓.5 }  \3 u) S  O+ ?# I' X
๔.+ h2 h3 {* F7 a6 @
๕.) [% Y5 L+ x' g( y5 p; s$ |
๖.: B) Y3 e4 B) c+ l* K
๗.
4 q8 k* R) I9 q$ w7 \: L๘.

, p- Y5 J+ n5 H0 H& z6 W+ z- T# k9 q2 [+ V/ T1 D
- นิวรณ์ ๕ (เครื่องกั้นขวางความดี)* r/ m) e  p% `. i9 O" C
ผู้ที่สามารถเอาชนะนิวรณ์ ๕ ได้ คือผู้ที่ได้ปฐมฌานเป็นอย่างต่ำ หากขณะนั่งสมาธิ ไม่ว่าผู้ฝึกจะมีภาพร่างกายแบบไหน ง่วงมากๆ เพลียมากๆ ฟุ้งซ่านมากๆ หลังจากเริ่มนั่งสมาธิแล้ว อาการง่วง อาการโกรธ อาการฟุ้งซ่านไม่ปรากฏ นั้นถึงจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าผู้ฝึกกรรมฐาน ฝึกได้ปฐมฌานเป็นอย่างต่ำแล้ว
+ I) f1 i1 C9 B% Z  J! p/ Z

6 ?0 @7 s; ?+ {2 `2 _กามฉันท์ คือ ความพึงพอใจในรูป รส กลิ่น เสียง โผฎฐัพพะ ธรรมารมณ์. e, T3 T" m1 V3 \
พยาบาท คือ การผูกใจเจ็บ หรือผูกอาฆาตผู้อื่น
& m# H) s6 N3 z' I- U0 I  rถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาหาวนอน
: Y' r# R  T( J' U' Q  R8 s. Hอุทธัจจะ กุกกุจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน ความรำคาญ
* E, D: i0 g) l4 s6 x+ ?วิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัยในผลการปฏิบัติ
( W8 \1 A6 H! U

; K) K# l# R& \( p' i; r2 E, L2 Xอุปกิเลส (เครื่องที่ทำให้จิตเศร้าหมอง ๑๖ ประการ)
4 G0 L  C+ |0 Fผู้ที่สนใจการปฏิบัติทางจิต หรืออบรมสมาธิ ตามแนวของพระพุทธศาสนา ควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่จะนำมาซึ่งกิเลส หรือสิ่งที่ทำให้จิตใจตกต่ำ และเป็นเหตุทำให้
/ n. H  ^- B* K) ^5 c% nพลังจิตถดถอย หรือขุ่นมัว ฉะนั้นผู้ที่ปฏิบัติทุกท่านควรละทิ้ง หรือห่างไกลจากสิ่งเหล่านี้ แล้วท่านทั้งหลายจะพบกับความสุข ความเจริญก้าวหน้า
4 H. v# ]6 D8 [/ `1 E( _5 H. g6 ]9 u
๑. อภิฌาวิสมโลภะ คิดอยากได้ทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน* Q& p4 p. F1 U
๒. พยาบาท (โทสะ) มีใจเดือดร้อน ความอาฆาต ผูกใจเจ็บคิดร้ายแก่ผู้อื่น" i3 D2 c4 {# `2 Q
๓. โกธะ ความโกรธ อาการกำเริบพลุ่งขึ้นมาในใจ จากความไม่ชอบนั้นๆ แต่ยังไม่ถึงกับบันดาลโทสะ
% J9 c4 {4 u& V( ~๔. อุปนาหะ ความผูกใจโกรธ เพียงแต่ผูกใจไม่ยอมลืม แต่ไม่ถึงกับคิดทำร้ายเขา เพราะกำลังของกิเลสยังอ่อนกว่าความโกรธ
8 b' D: Y7 z2 C5 q& D" y! e๕. มักขะ ความลบหลู่คุณท่าน คือ ใครมีบุณคุณกับเรา แล้วไม่คำนึงถึงคุณท่าน เป็นการลบล้างหรือปิดซ่อนคุณท่าน หรือความดีของท่าน  ~$ U) I6 X$ E* D3 x
๖. ปลาสะ ความดีเสมอตัวท่าน เอาตัวเองเป็นใหญ่ แล้วไม่ย่อมให้ใครดีกว่าตน ข่มเหงรังแก7 q% G# w/ Q5 c4 [1 D
๗. อิสสา ความริษยา เห็นใครดีกว่าก็ทนไม่ได้ เกิดความขุ่นมัวในจิต กลั่นแกล้งเขาทำให้เสื่อมเสีย" w/ i( D6 H' h3 x$ t
๘. มิจฉริยะ ความตระหนี่เกินกว่าปกติ ตระหนี่ในทรัพย์ ตระหนี่ในความรู้2 }4 v  ^3 A& ^& C) G( P
๙. มายา มารยาเจ้าเล่ห์ แสดงออกได้ทุกรูปแบบ หาความจริงไม่ได้ หรือแสดงออกให้คนอื่นหลงใหล
: l( _1 e3 U8 x1 ~๑๐. สาเถยยะ ความโอ้อวด หลอกหลวงเขา พูดจาเกินความจริง8 Y- m+ t" `. U
๑๑. ถัมภะ ความเป็นคนหัวดื้อ รั้น กระด้าง หัวแข็ง ไม่ยอมคนทั้งผิดและถูก
& b* Y4 O8 N  V6 o6 }4 i๑๒. สารัมภะ ความแข่งดี ไม่ยอมลดละ มุ่งแต่จะเอาชนะฝ่ายเดียว ไม่ยอมแพ้
( W$ U4 A, S! S2 z๑๓. มานะ ความถือตัวทะนงตน
8 H+ m+ v& [7 o# F+ L๑๔. อติมานะ ความถือตัวว่าดียิ่งกว่าเขา ดูหมิ่น ยกตนข่มท่าน
, ^! ]/ _. n& b" \1 L' u' b๑๕. มทะ ความมัวเมาในกิเลส เช่นบ้ายศ บ้าอำนาจ บ้าเงิน บ้าสมบัติ หลงยึดติดกับสิ่งเหล่านั้น
' t( A9 W: I, F2 |๑๖. ปมาทะ ความประมาทเลินเลิ่น ปล่อยสติให้คล้อยไปตามอำนาจของกิเลส จนได้รับทั้งความเสียหายต่อตนเอง และผู้อื่น นักปฏิบัติทุกท่าน % f  R  [$ n, i3 a
เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ควรหลักเลี่ยงให้ห่างไกล หรือสละสลัดสิ่งเหล่านี้ออกไปจากกายและใจ เมื่อท่านทั้งหลายสละละทิ้งได้จริง เมื่อนั้นความสุขจะเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
) {8 h, h" @/ d( ?, xและเป็นความสุขที่แท้จริง

3 h+ [2 N3 E1 T  N# U! l/ g+ G, Q9 A. f! K& }
อริยสัจ ๔ ได้แก่
! I5 G; I, ^) ]/ W& v$ j% u7 _* t; D- p๑. ทุกข์ คือ การทนได้ยาก; T6 {- m4 s/ ]+ a
๒. สมุทัย คือ เหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดทุกข์& ^  e' p9 k* }( P1 e' V" W4 J
๓. นิโรธ คือ การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงความดับทุกข์ โดยการจะดับทุกข์ได้นั้นต้องอาศัย...
# H4 e& Z, C" t# k  u๔. มรรคปฏิปทา มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น และมีสัมมาสมาธิเป็น ปริโยสาน
# [' x$ p! Z3 m# J, h

+ q- I% g" M* C/ j3 R6 Tกฏไตรลักษณ์ ๓ ข้อ คือ2 L  ?5 H) w; z+ q" W6 O0 D
๑. อนิจัง ร่างกายและทุกอย่างในโลกไม่เที่ยง, r1 }0 Y% K. x
๒. ทุกขัง ถ้าไปยึดมั่นก็เป็นทุกข์
1 w5 D/ e9 L9 h9 k/ _) @* z๓. อนัตตา ในที่สุดก็พัง
6 [0 S, E4 a# R1 E
, Y& n+ F0 E6 Q' j4 \- ]6 C  [
8 h# H! j3 e6 y, _$ g' l7 E2 l
สังโยชน์ ๑๐ 5 I7 e7 P. @/ }8 d- i9 S
๑.( T. U1 Z$ c* z6 N
๒.
/ C9 L! y+ Y; z5 M3 k๓.   k/ d, N/ X) A# k! E
๔.
' c: Z" D" f5 K' R7 T๕. % j9 e2 H& N/ ^6 s& @* f, N  q
๖.8 U6 I! G- r# o& V3 W0 d
๗.
( r3 t5 O8 c- G$ ]1 ~) W# E๘.
1 K# E+ u8 P5 t" {% Q$ c- ^๙. + k; V  R; r( N  d  a, l+ G- ?& r. f; G
๑๐.
8 K7 M& C2 [7 z- F; f- X9 T7 P- p) I( y* l) f5 `) b! \4 D! e
บารมี ๑๐

3 O$ T: w. P1 V+ b๑.9 F/ ^7 s# Y) L' e+ u
๒.
! d, E5 r: s9 `& x! G. ~๓.
/ U7 V" N7 z  T% l# m๔.; d; o! k) I" ~8 x0 T) K5 m8 c- t" x
๕.
# G: ^/ A, {. H% z0 x- f) i๖.4 w. Q' E. e; b) V
๗.( R" \- [: c6 l5 X3 d7 ~+ p
๘.
2 {; F' M6 |/ [# l# S& b๙.# A5 D- [( k1 W$ H# j! c# I
๑๐. 4 H6 d" r+ [  s; f
7 k8 ^5 O. |0 E6 g' N& E. M' ^
สังขาร ๓ ได้แก่
# j( B: y, b9 s. J* l3 k4 G& T! e* k/ l$ I  k

- C5 y% ~( d. w* l& ?3 Z$ ^1 Q* `8 p$ l7 @
: W1 e  d0 w. ]
กรรมฐาน ๔๐ กอง แบ่งเป็น ๗ กลุ่มประกอบด้วย4 a7 H* ?1 u  P* e
- หมวดกสิน ๑๐ (๑-๑๐)

8 Z! f8 k0 n2 W$ I2 w- หมวดอสุภกรรมฐาน (๑๑ - ๒๐)
7 N" d. K! R: b; S, ]$ m" c3 R, \* Z- หมวดอนุสสติกัมมัฏฐาน ๑๐ (๒๑ - ๓๑)
" ?# `7 x" M' r. T" D" Q: m
- หมวดจตุธาตุววัฏฐาน (๓๒)
) Z' _9 I& l% y5 v- v) G- พรหมวิหาร ๔ (๓๓ - ๓๖)7 [- P/ G6 }2 A& C1 t3 c
- หมวดอรูปฌาน ๔ (๓๗ - ๔๐); ~1 V) v' D! k: I
* k1 z5 L1 t" {" W- O2 {
กามคุณทั้ง ๕ ได้แก่

5 h0 X! }  p: @4 M# E; X' s๑. + ]! G" F. ^8 s- U1 B
๒. / ]' [: V( `" m1 k' h* [
๓.2 E" n4 w+ \3 `, X( h. a. U: b4 L  X
๔.: r/ g- ?% p' d4 S% D) i
๕. ) P$ `7 d! A" @  ^# I7 ^

4 c3 E$ ]8 G7 N3 V, Wกรรมฐาน ๔๐ กอง แบ่งเป็น ๔ หมวดได้แก่
; a# ?* ]; v# y+ I+ @๑. สุกขวิปัสสโก+ ^* }* \! i1 X
๒. เตวิชโช8 f0 z+ Z) R! n$ h. ~2 X" {
๓. อภิญญาหก7 i' {- D. t3 k9 l$ @/ h  D
๔. ปฏิสัมภิทาญาณ

0 B) |) U9 i# }/ ~- X6 x
# @+ T2 Z' C6 {5 n+ L7 x7 wภวังค์ ๓ หรือสมาธิขั้นต้น ได้แก่, r5 d) K* n; e
๑.
* i- @1 z, v( }  n2 A8 p๒.. ?4 K% d2 P- f: g6 H
๓.
( m8 ^( S7 E% \9 n7 Z4 v+ v+ n; K: h# f8 T( ~
รูปฌาน  ๔ ได้แก่/ F& s6 v5 h2 y. |! M. g
๑.
' f5 D* l/ }+ S/ t! s๒.+ p! T7 x8 m6 h& F9 E, e( |+ V
๓.6 {/ U9 ]9 i7 f8 b- u+ r
๔.5 r# m* E$ s- u6 w9 j+ J! b
  N0 n5 l( Y% G, D; p
อรูปฌาน ๔ ได้แก่
6 ~4 r9 W* H9 U/ s! {$ V๑. , Q! G0 z  {& ^" D
๒.
3 g& y$ p, [+ C๓.( Y1 o. y7 ^& p6 l! y3 B: u
๔.; ]' r; b0 v3 f  U

+ X9 V: ]; f& Z- a7 t) fพิจารณาธาตุ ๔ ในร่างกายมนุษย์ อันได้แก่
. X& K5 k. G4 t( z9 j8 S๑. ธาตุไฟ ๔9 b* E( n( m9 {5 X  }
๒. ธาตุลม ๖0 Z( u3 W, T$ L# m; U2 k
๓. ธาตุน้ำ ๑๒6 m% g! H! F5 y5 C& q$ t# E
๔. ธาตุดิน ๒๐ " G; r, B: G- e/ c2 h; J
6 u) Q* E" h9 z+ q- J
ขันธ์ ๕ ได้แก่- _% E% A/ e7 v# F  N* h

  T6 i& \& A" y$ q- {3 y

Rank: 1

ขอบคุณครับที่ให้ความกระจ่างขึ้นมากเลย ผมเข้าใจมากถึงเจตนาดี ที่อาจารย์มีต่อมนุษยชาติ ผมขอโมทนาบุญด้วยครับ ผมจะจำในสิ่งที่ อาจารย์มีเจตนาที่ดี จะตั้งใจ ใน ทาน ศีล ภาวนา สมาธิ ให้เจริญต่อไป  ขอบคุณในความเมตตาครับ

Rank: 1

การที่จะได้อภิญญานั้น หมายถึงการได้พลังจิต และมีจิตเหนือมนุษย์ทั่วไป แต่คิดเพ่งด้วยอำนาจกิเลส ทางโลภ โกรธ หลง แค่ชั่วขณะก็ก่อกรรม และทำให้ตนเองติดอยู่วัฏฏะสงสาร ในสังสารวัฒ ต่อไป ยกตัวอย่าง ล่าสุดเจอมากับตัวเองเลย มันไวมาก ตอนเช้านั่งกรรมฐาน และภาวนาในโหมดอภิญญา คือ ภาวนา ใน เตโซ วาโย อาโป ปัฐวี ช่วง กำหนดอยู่ในอารมณ์ ของ เตโซ กสิน นั้น จู่ๆ ข้างบ้านเป็นโรงงาน ทำประตูอัลลอย วันนั้นเขาทำเสียงดังรบกวนการทำสมาธิ แต่ตอนนั้นบังเอิญอยู่ใน โหมดฝึกอภิญญาไม่ได้ ภาวนาพุทโธ เผลอคิดว่าพวกนี้รบกวนกูจังระวังไฟไหม้นะเว้ย แค่คิดแล้วก็เข้าฌาน นิ่งต่อ สักพัก มีควันดำๆ ขึ้นมา แล้วเสียงตะโกนว่าไฟไหม้ๆ ปรากฏว่าโรงงานข้างๆ ที่กำลังเจียรเหล็กไฟไหม้แถมแก๊ซจะระเบิดอีก เลยต้องออกจากกรรมฐานทันที ไฟเลยดับทัน อันนี้ไม่รู้ว่าเป็นผลของการฝึกสมาธิ ในโหมดอภิญญา เผลอไปว่า และเข้าฌาน ต่อ หรือไม่ แต่ก็เจอมากับตัวเองว่า ต้องระวังอารมณ์กิเลสที่มันจะแทรกขึ้นมากับเราเมื่อไหร่ .... อาจารย์เลยต้องก่อนเข้าสมาธิต้องสำรวจในศีล และพรหมวิหารสี่ ก่อน และล้างจิตเจตสิก โดยการนึกถึงกรรมที่ทำมาแล้ว ทำการ ขอเนวะสัญญา นาสัญญายะตะนะ ลบกรรมในเจตสิก เสีย จนมันนึกกรรมนั้นไม่ออก เมื่อจิตสงบ ถึงจะดำเนินการฝึกกรรมฐานใน โหมดอภิญยาต่อได้ .... และเรื่อง ปริยัติอาจารย์ สอบด้าน สมถะ เสมอ เช่น แค่การใส่กระดุมถ้าใส่จะบนลงล่าง หมายถึงการ เจริญลงๆ อาจารย์บอกว่า ถ้าคนมี สมถะ เขาจะจดกระดุมจาก ล่างมาบน ตอนแรกไม่เข้าใจว่ามันเกี่ยวกับสมถะยังไง แต่พอมาเรียนรู้ บุคคลิกท่าทาง การมีสำมาคาระวะ และการทำตัวเป็นคนน้ำไม่เต็มแก้ว พวกนี้เรียกว่าสมถะ ทั้งสิ้น ซึ่งถ้า สมถะไม่ผ่าน คำว่าอภิญญาก็ห่างไกล เพราะฉะนั้น ปริยัติ คือ เข็มทิศที่บอก ทิศทางในการเดินสำหรับผู้ที่ ฝึกปฏิบัติการบรรลุมรรคผลก็ได้ การบรรลุในญาน ฌาน บารมีก็ดี ถ้ายังมองข้าม คำว่าถึงฝั่งก็ยาก เพาะเหมือนคนคลำทางไปเรื่อยๆ มั่วๆ ไม่ตรงทางเสียที  พอมาศึกษาแนวทางท่านอาจารย์วิเชียร แล้วก็ไม่ต่างจากหลวงพ่อสอนเลย เพราะต้องมีความรู้ทาง ปริยัติ ก่อนถึงจะ ปฏิบัติ และ ปฏิเวธ เพราะก่อนจะฝึกมโนไม่ใช่จู่ๆ ให้ถอดจิตได้เลย ในฝึกมโน ต้อง สอนการตัดร่างกายก่อนให้จิตตัดในอารมณ์ในกายชั่วขณะ ให้จิตเบาๆ พอเบาๆ เวลา กำหนดจิตจะได้ไว และการฝึกอภิญญาถ้าจิตไม่ผ่านการสอบจิตในเหตุการณ์ต่างๆ ไม่ว่าเหตุการ พลีกรรม และการยกจิต ให้สูงกว่าสภาวะคนทั่วไป เช่น เหตุการณ์นี้ เช่น พ่อตายแม่ตายคนที่รักตาย ถ้าเรายกจิตไม่พ้น จะเกิดความโศกเศร้าเสียใจ และก็อาดูร คือ อาลัยอาวร นั้นแหละ ถ้ายังมีสภาวะนั้นก็สอบไม่ผ่าน อาจารย์บอกว่า ท่านที่จะสอบมี ท่านท้าวสักกะ และท้าวมหาพรหม ในการที่จะสอบว่าเราจะสมควรได้อภิญญาหรือไม่ ยกจิตไม่ได้ก็สอบตก

Rank: 8Rank: 8

ตอบกระทู้ มารน้อย ตั้งกระทู้0 F9 X- f9 [! ?. Z7 i+ M; m
. {" _" F" r5 h  m  M4 ~1 i

7 Z% @8 r  ?+ B+ Y2 a% W7 ^
! ?2 z  U1 F7 z& r% ^6 }& mตัวอย่างที่ยกมาของ "ท่านพระโปฐิละ" เป็นตัวอย่างของพระที่มุ่งศึกษาแต่ปริยัติอย่างเดียว จนเกิดทิฐิมานะเกาะกินใจ ว่าตนเป็นผู้มีคนศรัทธามาก และไม่สนใจเรื่องการปฏิบัติเพื่อมรรคผลอย่างแท้จริง
0 b" v1 ^: E) w5 X+ O0 l/ P, q; _# @: E/ V
! [: ^; B' `. l0 u
แต่ในเรื่องของการฝึกฤทธิ์อภิญญาแล้ว มันค่อนข้างจะต่างกัน เพราะในกรณีของท่านอาจารย์วิเชียร ที่จำเป็นต้องให้มีการศึกษาธรรมให้เข้าใจก่อนนั้น มันมีที่มาที่ไป คือ.....5 O5 g+ E- _5 k1 F8 b* ^, p* }

' w2 k+ L+ O7 }& L5 S  [# }- ?8 _; u9 Y4 y
๑. เคยมีลูกศิษย์ฆราวาสท่านหนึ่ง มาขอเรียนอภิญญา ๕ กับท่านอาจารย์วิเชียร แต่ด้วยความที่เขาเน้นแต่ปฏิบัติเพื่อให้ได้เกิดฤทธิ์อย่างเดียว ไม่สนใจเรื่องการศึกษาหลักธรรมเลย
" F: t/ ^& m5 r
* D# N9 p/ v: lผลลัพธ์หลังจากที่เขามุ่งเน้นแต่จะเอาฤทธิ์ก่อน คิดว่าธรรมะไปศึกษาเอาตอนไหนก็ได้ เมื่อเขาสามารถฝึกพลังจิตจนสำเร็จแล้ว จึงเป็นเหตุให้ลูกศิษย์ท่านนี้ไปเป็นพนักงานอยู่ที่บ่อนการพนันฝั่งลาว มีหน้าที่ในการใช้พลังจิตเพื่อให้คนที่ไปแสวงความร่ำรวยเสียเงินหมดสิ้นเนื้อปะดาตัว เพ่งแกนสล็อตเพื่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน ฯลฯ พร้อมกับทำผิดศีลธรรมทุกชนิด ก่อกรรมทำเข็ญมากมาย และสุดท้าย อภิญญา ๕ ที่ได้มาก็เสื่อมหมด
3 `+ f- C2 J2 z2 d: k% ^! `8 ~( g/ x' P# c9 B, ?- z
ด้วยเหตุนี้คนที่จะมาขอฝึกอภิญญา ๕ กับท่านอาจารย์ ท่านอาจารย์จึงต้องตั้งกฎใหม่ว่า ลูกศิษย์ของท่านทุกคนจะเป็นต้องเรียนรู้ธรรมะให้เข้าใจเสียก่อน ถ้าศีลแม้แต่ศีล ๕ กรรมบถ ๑๐ ยังถือไม่ได้ก็ไม่ต้องมาขอเรียนอภิญญา % f2 F" g# q! t/ H; r4 ]' r$ a
( {& y& e7 j2 z) u% S; F

0 d( B; L3 ?9 b๒. ส่วนธรรมข้ออื่นๆนั้นล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยช่วยส่งเสริมให้ลูกศิษย์ฝึกอภิญญาง่ายขึ้น เพราะสิ่งสำคัญของลูกศิษย์ที่จะฝึกอภิญญาสำเร็จ คือ ต้องมีความเพียร มีความอดทน อดกลั้น (อิทธิบาท ๔) ไม่ย่อท้อต่อการถูกทดสอบต่างๆนาๆจากเทพพรหม จิตใจต้องแน่วแน่ เข้มแข็ง ไม่ยอมแพ้ต่อพญามารและกิเลสตัณหาของตนเอง และต้องทรงให้ได้ซึ่งความ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขาพร้อม (พรหมวิหาร ๔ + ศีล ๕ )' Z# E$ D1 v- |* `- {0 M; A
4 Y5 l  B4 T. a3 O" P! F
๓. ส่วนปริยัติข้ออื่นจะอธิบายในเรื่องอาการของสมาธิที่จะเกิดขึ้น ตั้งแต่เบื้องต้น จนถึงอรูปฌาน รวมไปถึงขั้นตอนของการวิปัสสนา เพื่อปูพื้นฐานให้ลูกศิษย์รู้ว่าหลังจากได้อภิญญา ๕ แล้ว วิปัสสนาตัวใดที่เหมาะกับจริตของตนเอง การรู้จักใช้วิปัสสนาที่ถูกกับจริตของตนมาร่วมด้วย เพื่อให้ลูกศิษย์สามารถยกระดับจิตของตนไปสู่ อภิญญา ๖ ต่อได้ในที่สุด (เช่น การพิจารณาอาหาเรปฏิกูล และมรณานุสสติ เพื่อให้มีพระนิพพานเป็นเป้าหมายสุดท้ายที่จะไป)
# O0 I6 z, C" \  ~
6 u9 v/ f9 J) I) T* J9 _( t6 U
และอีกสาเหตุหนึ่ง ที่ลูกศิษย์จำที่ต้องศึกษาปริยัติไว้ล่วงหน้าก็เพราะเวลาที่ลูกศิษย์ไปสอบถามระดับกรรมฐานหรืออาการสมาธิของตนกับท่าน เมื่อท่านอาจารย์ตอบมาเป็นภาษาบาลี (เช่น ได้ถึงขั้นตติยฌาน หรือขั้นทุติยฌาน อรูปได้ถึงขั้น....)  ตัวลูกศิษย์เองจะได้มีความเข้าใจทันที ว่าตนเองพัฒนามาถึงขั้นไหนแล้ว
" p* S: V3 Q1 k. l$ e, j; ^/ J, J- q5 u& B3 ]
๔. ที่ท่านอาจารย์ให้ศึกษาปริยัติก่อนนั้น ท่านไม่ใช่บอกให้ศึกษาหมดทั้ง ๘๔๐๐๐ ธรรมขันธ์ แต่บอกเพียงให้ศึกษาเป็นบางข้อที่นักปฏิบัติที่ดีจำเป็นต้องรู้ไว้ เพื่อลูกศิษย์ของท่านจะได้เป็น คนดีของสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน และเมื่อตายไปแล้วก็ได้ไปสู่ภพภูมิที่ดี3 Q( x! |2 @5 f& v
  \$ ?; }. B8 k9 h. M/ r
๕. ท่านอาจารย์มักพูดเป็นนัยบ่อยครั้งว่า ปัจจุบันนี้ผู้ที่มาขอฝึกอภิญญา ส่วนมากที่ไม่สำเร็จกัน เพราะมักมาด้วยความโลภ อยากได้ฤทธิ์และอยากเป็นผู้วิเศษ อยากมีชื่อเสียงได้ศรัทธาจากคนหมู่มาก ซึ่งท่านอาจารย์เองก็รู้ว่าหากคนเหล่านี้ได้ฤทธิ์ไปแล้วจะนำไปใช้ในทางใด ท่านอาจารย์จึงจำเป็นต้องชำระล้างจิตใจลูกศิษย์ของท่านให้สะอาดมากพอเสียก่อน นั้นคือการให้ศึกษาธรรม และให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ ไม่เช่นนั้น ถ้าปล่อยให้ฝึกได้ไป มันก็ไม่ต่างอะไรกับเอาอาวุธไปใส่มือโจร
8 n9 V: }" N7 @% @) m' g5 M& Z" i0 L  V2 y, {0 `, s5 ~
๖. พระเดชพระคุณหลวงพ่อฤๅษีสอนปรยัติก่อนที่จะสอนกรรมฐานให้ทุกครั้ง ถ้าสังเกตุดีๆ ก่อนที่ลูกศิษย์จะเรียนมโมยิทธิ ท่านจะบอกให้รู้จักการถือศีล ๕ และ ศีล ๘ จากนั้นก็จะสอนให้รู้จักกับการตัดสังขารร่างกาย สอนให้พิจารณาความตายก่อนทุกครั้ง ไม่ให้ยึดติดสิ่งสมมุติใดๆทั้งหลายในโลก เช่น ชื่อเสียง เกียรติยศ เงินทอง ฯลฯ  สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นธรรมะที่มีอยู่ในพระไตรปิฏกทั้งสิ้น จากนั้นพระเดชพระคุณหลวงพ่อจึงค่อยสอนฤทธิ์มโนมยิทธิให้ เพื่อให้ลูกศิษย์ของท่านนำวิชามโนมิยทธินี้ไปใช้ประโยชน์เพื่อความบรรลุมรรคผล ไม่ใช่นำวิชาของท่านไปใช้ในทางมิชอบมิควร ใช้ฤทธิ์เพื่อสนองตัณหาตนเอง ก่อกรรมทำเข็ญกับผู้อื่น
' C7 h( L0 K/ F

Rank: 1

ต้นฉบับโพสต์โดย NOOKFUFU2 เมื่อ 2013-5-17 00:59 + |4 I6 S  z2 o) ^
หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญ ...

* a; b2 ~! ~7 s9 z. k! V3 D* o% S+ j9 S9 e0 _* n# M- m
ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นครับ(จากคนปัญญาน้อยนิด ปฏิบัติก็ยังไม่ถึงไหนอภิญญาก็ยังไม่ได้) จากบทความที่ได้อ่านมีความน่าสนใจมากครับ แต่ผมอาจจะเข้าใจคลาดเคลือนอยู่  จากบทความในคำกล่าวที่ว่า "เพื่อในการปฏิบัติกัมมัฏฐานเป็นไปอย่างก้าวหน้า นักเรียนอภิญญาทุกคนจะต้องศึกษาหลักสูตรปริยัติให้เข้าใจเสียก่อน นักปฏิบัติที่เน้นแต่ปฏิบัติกรรมฐานอย่างเดียว จะเจริญก้าวหน้าในสมาธิได้ช้ากว่า นักปฏิบัติที่ศึกษาปริยัติมาจนเข้าใจแล้ว ค่อยมาเน้นการปฏิบัติกรรมฐานทีหลัง เหตุที่เป็นแบบนี้เพราะ การศึกษาปริยัติเปรียบเสมือนเป็นการศึกษาแผนที่นำทาง ก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติ นักปฏิบัติควรทำความเข้าใจกับเส้นทางที่จะมุ่งไปเสียก่อน ควรรู้ล่วงหน้าว่าจะต้องพบเจอกับสิ่งใดข้างทางบ้าง สิ่งใดที่จะเป็นอุสรรคขัดขวางการเดินทาง และจะต้องผ่านด่านทดสอบจิตใจอะไรบ้าง แผนที่ปริยัติถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้นักปฏิบัติรู้เส้นทางที่จะไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตนมุ่งหวัง และรู้ถึงสิ่งที่ตนจะต้องประสบล่วงหน้า รู้ที่จะเตรียมใจที่จะต้องฝ่าฟันไปให้ได้ เพื่อให้ได้สำเร็จอภิญญา 5 และ 6 และบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด (เป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย หรือเส้นชัยของนักเรียนอภิญญาทุกคน)"
  w6 b0 W: r8 g+ C9 c+ d) D" d       จากบทความดังกล่าวมาข้างต้น ผมก็ยังงงอยู่ ขออธิบายความสงสัยผมอย่างนี้ครับ ผมก็เคยได้ยินมาเหมือนกันว่า  หลักของการศึกษา จะมีอยู่สามระดับ คือ ปริยัติ ปฎิบัติ ปฏิเวธ   ทั้งนี้จากบทความบอกว่า ให้ศึกษาเรื่องของปริยัติ ก่อน เรื่องนี้ทำให้ผมนึกถึงพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หน้าที่ 118  ๕. เรื่องพระโปฐิลเถระ [๒๐๘]
& {1 c1 Q/ R* Y/ A) f4 ^ข้อความเบื้องต้น; p- E. g* U& s* k% x) q
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระเถระ
& ~4 }' A$ f' N3 V4 h4 D# _( tนามว่าโปฐิละ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " โยคา เว " เป็นต้น.- ~; k4 B2 }& C& l1 u( R: w
รู้มากแต่เอาตัวไม่รอด% q6 x6 Z- h. b3 w+ g
ดังได้สดับมา พระโปฐิละนั้นเป็นผู้ทรงพระไตรปิฎกในศาสนาของ' l) W+ {* W  Y; n: a4 L, a6 l" J  c
พระพุทธเจ้า ๗ พระองค์ บอกธรรมแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป. พระศาสดา' I0 R5 b; ]4 c/ l
ทรงดำริว่า " ภิกษุนี้ ย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ' เราจักทำการสลัดออก( Y, m$ u/ Z# N/ X' ]3 L
จากทุกข์แก่ตน; เราจักยังเธอให้สังเวช."
2 q0 H# `3 e; k* Q7 ~! n$ T8 Iจำเดิมแต่นั้นมา พระองค์ย่อมตรัสกะพระเถระนั้น ในเวลาที่พระ-
1 n( G& X  K" K: qเถระมาสู่ที่บำรุงของพระองค์ว่า " มาเถิด คุณใบลานเปล่า, นั่งเถิด คุณ) o2 D6 d  n3 I! H% W
ใบลานเปล่า, ไปเถิด คุณใบลานเปล่า, แม้ในเวลาที่พระเถระลุกไป ก็
+ N2 q  w0 Z, t2 F" u1 fตรัสว่า " คุณใบลานเปล่า ไปแล้ว." พระโปฐิละนั้นคิดว่า " เราย่อม
8 p! J7 n8 a! {( E; E! D: oทรงไว้ซึ่งพระไตรปิฎกพร้อมทั้งอรรถกถา, บอกธรรมแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป" ?- q$ t0 `! t' t! e( ]# d; c
ถึง ๑๘ คณะใหญ่, ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น พระศาสดายังตรัสเรียกเราเนือง ๆ6 d* X1 W/ Z. k% ^
ว่า ' คุณใบลานเปล่า ' พระศาสดาตรัสเรียกเราอย่างนี้ เพราะความไม่มี' x% u" U. K2 i, S" V3 E5 M$ S) l
คุณวิเศษ มีฌานเป็นต้นแน่แท้." ท่านมีความสังเวชเกิดขึ้นแล้ว จึงคิดว่า
7 b+ v9 N0 A! q/ \. K" บัดนี้ เราจักเข้าไปสู่ป่าแล้วทำสมณธรรม" จัดแจงบาตรและจีวรเอง
4 H, _: V5 r6 B% b; X* I1 Q2 I  f+ ~ทีเดียว ได้ออกไปพร้อมด้วยภิกษุผู้เรียนธรรม แล้วออกไปภายหลังภิกษุ- X0 ]: }* |+ g* k: K* Z. H0 K3 x% Y
ทั้งหมดในเวลาใกล้รุ่ง. พวกภิกษุนั่งสาธยายอยู่ในบริเวณ ไม่ได้กำหนด
3 F3 U& K$ P0 X9 G' nท่านว่า " อาจารย์." พระเถระไปสิ้นสองพันโยชน์แล้ว, เข้าไปหาภิกษุ
) `4 H) Y% c, Q๓๐ รูป ผู้อยู่ในอาวาสราวป่าแห่งหนึ่ง ไหว้พระสังฆเถระแล้ว# H2 v" }* p7 ]7 x7 u
กล่าวว่า " ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของกระผม."
0 p. T/ m* D7 ]  P8 a# r) x( _' ~พระสังฆเถระ. " ผู้มีอายุ ท่านเป็นพระธรรมกถึก, สิ่งอะไรชื่อว่า
& V. z- ^; J& w# l9 Qอันพวกเราพึงทราบได้ ก็เพราะอาศัยท่าน, เหตุไฉนท่านจึงพูดอย่างนี้ ?": K. \# Z: C; j( Z1 N& G
พระโปฐิละ. ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงอย่าทำอย่างนี้,$ r% E4 n2 Q) Y# A
ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของกระผม.
0 Y# x8 W. F' B. T! Nวิธีขจัดมานะของพระโปฐิละ 8 ^. O, B; N- l8 D; ?
ก็พระเถระเหล่านั้นทั้งหมด ล้วนเป็นพระขีณาสพทั้งนั้น. ลำดับนั้น) [& t4 z5 o1 @2 G; W1 b
พระมหาเถระ ส่งพระโปฐิละนั้นไปสู่สำนักพระอนุเถระ ด้วยคิดว่า
1 l, @4 V! h1 X, u7 g+ l2 r, G# j% c0 v" ภิกษุนี้มีมานะ เพราะอาศัยการเรียนแท้." แม้พระอนุเถระนั้นก็กล่าว
: _7 U) {, ?: R2 {3 Oกะพระโปฐิละนั้น อย่างนั้นเหมือนกัน. ถึงพระเถระทั้งหมด เมื่อส่ง
6 v  t* D" B# J; J- ]0 a! Uท่านไปโดยทำนองนี้ ก็ส่งไปสู่สำนักของสามเณรผู้มีอายุ ๗ ขวบ ผู้ใหม่# c  J: Z3 I# E( ~9 f/ g
กว่าสามเณรทั้งหมด ซึ่งนั่งทำกรรมคือการเย็บผ้าอยู่ในที่พักกลางวัน.6 Y$ t& a& c+ N% U$ M* J
พระเถระทั้งหลายนำมานะของท่านออกได้ ด้วยอุบายอย่างนี้.% ]/ \7 [% I, Z& ~
พระโปฐิละหมดมานะ* u# y/ s# O% h$ X) E  h1 P
พระโปฐิละนั้น มีมานะอันพระเถระทั้งหลายนำออกแล้ว + V( r& ~' h" Q* n" g+ K; X3 D
จึงประคองอัญชลีในสำนักของสามเณรแล้วกล่าวว่า 2 E& E- S5 t7 {& ^
" ท่านสัตบุรุษ ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของผม.": U1 `( R- s. v8 ?. k7 d6 o6 Y3 W
สามเณร. ตายจริง ท่านอาจารย์ ท่านพูดอะไรนั่น, ท่านเป็น/ N8 y) E+ M0 h8 m
คนแก่ เป็นพหูสูต, เหตุอะไร ๆ พึงเป็นกิจอันผมควรรู้ในสำนักของท่าน& C8 S; `, Q$ N" J
พระโปฐิละ. ท่านสัตบุรุษ ท่านอย่าทำอย่างนี้,
6 w% B. m: y% K* W  r! c$ Tขอท่านจงเป็นที่พึ่งของผมให้ได้.; m/ [% Y3 f* g7 l& d" t9 a! g
สามเณร. ท่านขอรับ หากท่านจักเป็นผู้อดทนต่อโอวาทได้ไซร้, ผมจักเป็นที่พึ่งของท่าน.4 \: U' t  i1 ], }; G7 |# W( P5 D3 _
พระโปฐิละ. ผมเป็นได้ ท่านสัตบุรุษ, เมื่อท่านกล่าวว่า ' จงเข้า3 a8 {- e- c/ G0 e, H! Q& \
ไปสู่ไฟ,' ผมจักเข้าไปแม้สู่ไฟได้ทีเดียว.& H1 l7 g7 M6 X' K: }! |3 j
พระโปฐิละปฏิบัติตามคำสั่งสอนของสามเณร 0 K+ B7 l3 ?) S3 x
ลำดับนั้น สามเณรจึงแสดงสระ ๆ หนึ่งในที่ไม่ไกล แล้วกล่าวกะ
- G% |7 C; V, n1 L5 Gท่านว่า " ท่านขอรับ ท่านนุ่งห่มตามเดิมนั่นแหละ จงลงไปสู่สระนี้."
, n! q- ^! S7 f  g) J7 ]$ Hจริงอยู่ สามเณรนั้น แม้รู้ความที่จีวรสองชั้นซึ่งมีราคามาก อันพระเถระ
. E- X) B6 ~$ w! Q# o/ w5 `นั้นนุ่งห่มแล้ว เมื่อจะทดลองว่า " พระเถระจักเป็นผู้อดทนต่อโอวาทได้2 P4 U3 Y- H" o! }
หรือไม่" จึงกล่าวอย่างนั้น. แม้พระเถระก็ลงไปด้วยคำ ๆ เดียวเท่านั้น.# N6 x1 [; w7 z/ ^( F3 b
ลำดับนั้น ในเวลาที่ชายจีวรเปียก สามเณรจึงกล่าวกะท่านว่า " มาเถิด/ j6 J- I" Y: {: H
ท่านขอรับ" แล้วกล่าวกะท่านผู้มายืนอยู่ด้วยคำๆ เดียวเท่านั้นว่า " ท่าน
1 r, @; v; h/ b/ \: W1 f' H5 Cผู้เจริญ ในจอมปลวกแห่งหนึ่ง มีช่องอยู่ ๖ ช่อง, ในช่องเหล่านั้น เหี้ย
1 D# q$ _7 Z) N. c  p! A; \เข้าไปภายในโดยช่อง ๆ หนึ่ง บุคคลประสงค์จะจับมัน จึงอุดช่องทั้ง ๕
5 K, v& T. ~% mนอกนี้ ทำลายช่องที่ ๖ แล้ว จึงจับเอาโดยช่องที่มันเข้าไปนั่นเอง; บรรดา" w( J% J* P4 p3 S" e
ทวารทั้งหก แม้ท่านจงปิดทวารทั้ง ๕ อย่างนั้นแล้ว จงเริ่มตั้งกรรมนี้ไว้3 q6 U" g0 X4 w' t
ในมโนทวาร." ด้วยนัยมีประมาณเท่านี้ ความแจ่มแจ้งได้มีแก่ภิกษุผู้ . ]* @. X: ?5 \9 l
เป็นพหูสูต ดุจการลุกโพลงขึ้นแห่งดวงประทีปฉะนั้น. พระโปฐิละนั้น
. q9 j! n- \& b" Y3 x) g7 A; Yกล่าวว่า " ท่านสัตบุรุษ คำมีประมาณเท่านี้แหละพอละ" แล้วจึงหยั่งลง
6 |& t3 n( x% l6 bในกรชกาย๒ ปรารภสมณะธรรม.
5 b* _- l3 ^1 c3 o  ^5 hทางเจริญและทางเสื่อมแห่งปัญญา9 E* _/ W2 Z7 B+ o+ ^: F; }
พระศาสดาประทับนั่งในที่สุดประมาณ ๑๒๐ โยชน์เทียว ทอด6 A: y" f- L* W+ B, j' ~
พระเนตรดูภิกษุนั้นแล้วดำริว่า " ภิกษุนั้นเป็นผู้มีปัญญา (กว้างขวาง)
4 o' z  {2 b2 h9 A, \# A7 ]2 bดุจแผ่นดิน ด้วยประการใดแล; การที่เธอตั้งตนไว้ด้วยประการนั้นนั่นแล2 z$ j- ^( U  A* @( y- ~- g
ย่อมสมควร." แล้วทรงเปล่งพระรัศมีไป ประหนึ่งตรัสอยู่กับภิกษุนั้น5 E5 E: ?$ B8 w: E
ตรัสพระคาถานี้ว่า :-
* @/ L3 m% \" a9 t9 A7 ]๕. โยคา เว ชายตี ภูริ อโยคา ภูริสงฺขโย เอตํ เทฺวธา ปถํ ญตฺวา ภวาย วิภวาย จตถตฺตานํ นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ.
6 Q9 c; g; p. R" o1 O" ปัญญาย่อมเกิดเพราะการประกอบแล, ความสิ้นไปแห่งปัญญาเพราะการไม่ประกอบ, บัณฑิตรู้5 Y# q8 P$ f2 q" k6 m  b
ทาง ๒ แพร่ง แห่งความเจริญและความเสื่อมนั่นแล้ว พึงตั้งตนไว้โดยประการที่ปัญญาจะเจริญขึ้นได้."
4 ^/ o, L3 U/ Q2 Xจากเรื่องนี้ ทำให้ผมคิดว่าผมเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือเปล่า  แม้แต่ครั้งพุทธกาล พระพุทธองค์ ท่านจะโปรดใคร ท่านก็จะเลือกบุคคลที่ปฎิบัติอยู่แล้ว ส่วนปริยัต ปฎิเวธ ท่านจะมาแนะนำภายหลัง ผมก็เลยงง แม้แต่ครูบาอาจารย์ เก่าๆท่านก็จะเน้นปฏิบัติ ก่อน แทบทั้งสิ้น ต่อมาท่านก็จะมาให้เรียน ปริยัติ ปฏิเวธ ภายหลัง  แม้แต่ปู่ฤาษึลิงดำที่ก้เน้นปฎิบัติ ในความคิดผม ถ้าหากเราเรียนปริยัติก่อนเราก็จะได้แต่สัญญา (ความจำได้หมายรู้) แต่ไม่เข้าใจ  ผมอาจมีความรู้น้อยเกินไปด้วยครับ

Rank: 1

โมทนาสาธุค่ะ

Rank: 8Rank: 8

บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ
4 m: o; V; O4 L& C& G4 `7 H; U' a, s% @& T
บุญ กิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ คือ สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญ หรือกล่าวอย่างง่ายๆ ว่า การกระทำที่เกิดเป็นบุญ เป็นกุศล แก่ผู้กระทำต่อไปนี้

& b2 z- X, o* a2 r+ j5 V. c1 Z! J๑. บุญสำเร็จได้ด้วยการบริจาคทาน (ทานมัย) คือการเสียสละนับแต่ทรัพย์ สิ่งของ เงินทอง ตลอดจนกำลังกาย สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยส่วนรวม รวมถึงการละกิเลส โลภะ โทสะ โมหะ ออกจากจิตใจ จนถึงการสละชีวิตอันเป็นสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเพื่อการปฏิบัติธรรม
8 N6 \( M8 r5 V6 K  }  m
3 m6 W1 W3 ^! _$ x5 v; l๒. บุญสำเร็จได้ด้วยการรักษาศีล (ศีลมัย) คือ การตั้งใจรักษาศีล และการปฏิบัติตนไม่ให้ละเมิดศีล ไม่ว่าจะเป็น ศีล ๕ หรือ ศีล ๘ ของอุบาสกอุบาสิกา ศีล ๑๐ ของสามเณร หรือศีล ๒๒๗ ข้อของพระภิกษุ เพื่อรักษากาย วาจา และใจ ให้บริสุทธิ์สะอาด พ้นจากกายทุจริต ๔ ประการ คือ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ ละเว้นจากการลักทรัพย์ ละเว้นจากการประพฤติผิดในกาม และเสพสิ่งเสพติดมึนเมา อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท วจีทุจริต ๔ ประการ คือ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดปด  ไม่พูดเพ้อเจ้อ และไม่พูดคำหยาบ มโนทุจริต ๓ ประการได้แก่ ไม่หลงงมงาย ไม่พยาบาท ไม่หลงผิดจากทำนองคลองธรรม
- e. i: U* n3 E7 n3 {. m
' P! e9 e1 U4 ~7 l๓.
+ {* k9 d" H8 `9 e: A๔.
3 i9 s# |  @1 e๕.
; L# m5 t% t  u2 G0 I# b; L: b๖.
* n" c6 F/ H' F: {7 c& ~๗." m$ ]7 F4 X# J, D+ A. s2 k
๘.2 r% m! T$ o3 {, Y3 @6 M
๙.0 s2 r# g3 O' i, Z0 c
๑๐.

8 v( o0 ]5 t% O6 ?2 I
, U! M8 |: J- G/ Eและให้ศึกษาปฏิจจสมุปบาทมาให้เข้าใจ 1 K; u3 {1 g% J3 S
รูป นาม วิญญาณ
: p, X% P3 G' j/ K! H' i! s  ?ภพ - ชาติ
8 b) i. t7 i) s% i) Gเสขะ อเสขะ

* Q% I7 S% ?  I: _8 w. U' _ 1 [! ^: ?: p1 o6 I9 k" m, x
***ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่จะออกข้อสอบวัดผลความรู้ด้านปริยัติ นักเรียนอภิญญา มีทั้งอัตนัย(แบบมีตัวเลือก) และปรนัย(ข้อเขียน อธิบายมาให้มากที่สุด) $ n& v! d5 n5 g* @: P  d; q+ r3 m4 a

Rank: 8Rank: 8


% w( t" l; C6 D5 h) Aพละ ๕, o" x" |6 L. p* m+ {. W  z5 I
๑. 7 Y1 Q; v# h& I7 r0 y/ h
๒. 6 K& W; k7 Z+ L
๓.0 V7 h  g4 p" ?* B
๔. * K: o+ r' i) ~$ U  z! j) B
๕.
7 z+ [' S- k! i

; h4 [3 z3 E1 @* M8 N
4 G; B' h# k! W' Rทีปนีกรรม ๑๒2 |. n1 \  s) i8 ~/ C3 F
๑. 7 z! {4 n/ b, B8 D1 `5 W# k
๒. 7 w" z" p: W4 N; q0 w# \4 P
๓.
1 k  L$ T) e4 q7 L0 _7 [๔.
. u5 l: \$ E, D- H# F" U๕.9 M& |8 S& L1 S! L* _% x7 R& U
๖.) U1 O) B6 e+ u9 y3 v
๗.; o) k. \( X6 N5 \) F$ h$ D) }
๘.7 v4 i/ s- c* v$ u2 W! [
๙.6 a, O. c4 r. H
๑๐.
/ |$ o9 z1 M0 h, M0 \3 `3 l๑๑.
; {3 J# [$ e+ ?  A+ v) b๑๒.
/ F8 u: _' ~) v& ~) u- w
0 E% y  O, s* w3 }' M3 S0 e
$ Z% E( v" }# i; j% h' K- l
มละ ๙ (มลทิน ๙ อย่าง)
% x) m8 y; n4 L ! F/ P$ V( M3 ^3 T% ^* e4 d8 C
  @- s3 j- s" x4 Y' @) V: D8 `5 c

0 N/ E  X- i0 n! q6 P5 p! {อายตนะ ๑๒ คือเครื่องรู้ และสิ่งที่รู้ มีดังนี้
# _7 y6 Q# |8 j0 a( f% M๑. จักขายตนะ ประสาทตา
$ p! z* n* N& E$ m! s๒. รูปายตนะ แสงสีที่มากระทบตา
- T: T1 o/ b0 g0 v5 T% y& ?๓. โสตายตนะ ประสาทหู
' S! C. w0 m+ o$ h' O+ @๔. สัททายตนะ เสียงต่างๆ/ F1 `! O7 K2 y$ i: w
๕. ฆานายตนะ ประสาทรับกลิ่น
8 _# {7 J( H( }๖. คันธายตนะ กลิ่นต่างๆ
) u* \/ U5 P9 \- U๗. ชิวหายตนะ ประสาทรับรส0 I! I" ?  w/ y/ J5 s% r1 h4 s% s
๘. รสายตนะ รสต่างๆ
0 y, S0 ^. T0 F๙. กายายตนะ ประสาทตามผิวกาย
4 x" r$ e7 L( F๑๐. โผฏฐัพพายตนะ ความเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ที่กระทบกาย( f& t, c1 w' I2 W! K- Y! S' u7 U
๑๑. มนายตนะ จิตซึ่งเป็นผู้สัมผัสกับความคิด
; G3 P) H5 P( x0 l0 v; b% V7 k2 S๑๒. ธัมมายตนะ ความคิด ความรู้สึกต่างๆ

3 e: j/ C. U- S& {6 O ( q% k# O, O6 ?- d- w
อายตนะทั้ง ๑๒ นี้ แบ่งออกเป็น ๒ จำพวกคือ อายตนะภายนอก และอายตนะภายใน# r5 l& _" F, I; u5 u7 C* j
% z4 E: f/ T7 [6 t. v8 |6 \
อายตนะภายนอก คือ เครื่องรับรู้ ได้แก่ ตาหู จมูก ลิ้น กาย ใจ (ตามข้อ ๓ ๕ ๗ ๙ และ ๑๑ ข้างต้น)
2 m, g. T) |3 E 0 V/ B1 _; C' p2 k% ]/ C
อายตนะภายใน คือ สิ่งที่รู้ เช่น รูป รส เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ คือ อารมณ์ที่มาถูกต้องกาย ธรรมารมณ์ คืออารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจ (ตามข้อ ๒ ๔ ๖ ๘ ๑๐ และ ๑๒ ข้างต้น)
8 X5 {9 N1 U1 M' F3 l * q' z5 g8 _  U8 B& n! v% t

  e: M, T! j$ I4 y  t" Aความปรารถนาของบุคคลในโลกที่ได้สมหวังด้วยยาก ๔ อย่าง* U( R( u; {! N4 N' [; N
๑. ขอสมบัติจงเกิดแก่เราโดยทางชอบ) B5 j. ]; ~* I- C
๒. ขอยศจงเกิดแก่เรากับญาติพวกพร้อง2 q/ g: H5 ^3 W+ _, h/ j( Y" g
๓. ขอเราจงรักษาอายุให้ยืนนาน
0 C! L. ~& d: p  \- N; B๔. เมื่อสิ้นชีวิตแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์
2 @; d& v* Q8 W2 x) C
ธรรมเป็นเหตุให้สมหมายมีอยู่ ๔ อย่าง; D$ q3 Q. Q, p4 N* ^
$ N$ M0 }' V5 v0 }9 g% O0 g
๑. สัทธาสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยศรัทธา
1 p1 {2 ^8 V4 V๒. สีลสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยศีล
  i% q9 @- ?6 h7 C; W5 C๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยบริจาคทาน9 o* J- ^( e7 R% a: d! T  f7 o
๔. ปัญญาสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยปัญญา (เข้าใจเหตุและผล)
; M* }: ]& m( u3 Q: D, p

! ^5 h- W  C# P' ]ตระกูลอันมั่นคงจะตั้งอยูานานไม่ได้เพราะสถาน ๔ ได้แก่  \( S! `* b# E- A' c4 \' c
๑. ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว
( ^9 k9 P9 Y4 r( Q! y5 p๒. ไม่บูรณะพัสดุที่คร่ำคร่า7 m, f" y* o& ?  O3 e) C3 h& L
๓. ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ
5 K$ y2 g. ]; l# ^/ r/ u๔. ตั้งสตรีทุศีลหรือบุรุษทุศีล ให้เป็นแม่เรือน พ่อเรือน
; \5 s# Y. t# W
! T. B/ `/ J0 N! _* s) H9 N
ธรรมของฆราวาส ๔ ได้แก่4 R0 q# F, Q8 F2 g
๑. สัจจะ ซื่อสัตย์แก่กัน
/ c5 G5 X4 Q- k๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน
, l5 l" L' i. s- V% R  t# D9 Z! k๓. ขันติ มีความอดทน อดกลั้น+ e) R8 b4 _' n, O6 V  Z* Y
๔. จาคะ สละให้ ปันสิ่งของๆตนให้แก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน

4 F2 X. y& H' ]. m$ c7 {6 d# h
  @& k. @* P$ r% r0 [สังคหวัตถุ ๔ อย่างได้แก่ (คุณทั้ง ๔ อย่างนี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวผู้อื่นไว้ได้)
5 G8 O" Y. m8 y' R8 U' p' y' r๑. ทาน ให้ปันสิ่งของๆตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน0 D" Q/ x) _% K! W
๒. ปิยวาจา เจรจาด้วยวาจาที่อ่อนหวาน4 g, Z2 H* ?- o$ X/ g2 a
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น( w; Z% i2 }$ h7 z$ J  c
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว

3 a' M0 I3 a: T$ V' N' ?5 Y3 I
9 K" c$ q" G% r. O* {- f1 yสุขของคฤหัสถ์ ๔ อย่าง ได้แก่! p4 {) n  E1 m, z1 z# H* \# T
๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์
( S0 K! O6 ?9 v) d1 X6 ^๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค
# R, l8 h! A% j: `9 l( Q9 i๓. สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้
" g  N3 I7 t( `1 A4 ~6 h๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ
* W/ g$ w" p6 a. L( i

" M; G3 e! H6 {% O9 M

Rank: 8Rank: 8


! e9 v  D$ y& @2 P; ^วิปัสสนาญาณ ๙) B# J; u  n9 _; X0 v9 V1 ]" b0 a
๑.
* ?8 P! _8 X2 c๒.1 P2 }  O9 o9 K4 o
๓.
; C- m: t" `- n5 o8 p% k๔.
2 [- A6 o" _  O% t, U" x+ H9 c๕.
3 w5 w" h0 h( \3 ]9 v: _2 Q8 ~๖.
: s# @! s* D/ X" D8 F๗.
, `/ d- [% {3 P% Z( w; |; R๘.# f+ ~# h* `4 g7 m
๙.
5 A$ i3 H7 }$ P8 K

+ J6 U9 s/ a; G0 l: ~ญาณ ๘
+ ?. I! k0 |7 t6 n* W) D๑. . {6 g, s, T7 T3 Q
๒.; U+ k0 `& t7 v7 h9 g. S2 f$ s
๓.
" y# q- A& k4 ]% j3 o( u๔.
! k) \3 t- `) w$ Y, @: @9 \; D๕.
$ A/ L: r0 Y7 d๖.
8 O9 f$ }- K* o8 w  W๗.5 T, H0 A; K: l5 p9 C
๘.

. z4 ]) C- r! w. e$ y/ I0 | , B* a/ k. t4 {
ปีติ ๕ ได้แก่
) {. e8 v( }( @. C5 u* u๑.
6 I3 y' n# t; v5 U๒.   B/ [- }( J3 ~$ N2 }4 t  R5 m
๓.; E( X) w( M  B6 o& M. r
๔. ( n$ f8 R- w: I" r+ R! L1 B
๕.
. v, f' D: ?4 X' E8 p, D

5 c( P( {9 s7 d/ a: c% bมรรค ๘ ได้แก่, Q: {5 W- }$ E- P& j+ O& {! T
๑.
7 C8 ?5 I1 b! E/ p( K  w- N๒. 7 ~' m! o7 ?6 J. U; j, R$ t; e
๓.
& e6 }5 d7 m1 ~2 Z9 t) Q8 V. E* `๔.* o9 E+ h) G9 ~
๕./ ^: N* k  q* Q9 I/ Q. e
๖.
6 Y$ ~& s/ ^( D, r6 G๗.
9 V) ]# [" w0 v2 e5 H. w2 n๘.

- H! ^/ k  L( T+ {4 j7 v5 w * ?3 N7 k: M  D3 u
อิทธบาท ๔ 5 N( p( N' T# \( g$ J2 }
๑. ฉันทะ มีความพอใจ( I" F- Z% F% x
๒. วิริยะ มีความพากเพียรในการทำลายอุปสรรคไม่ถ้อถอย0 t! |; [& W; k, Q) @+ U8 E
๓. จิตตะ จดจ่อสนใจในสิ่งนั้น ไม่วางมือ8 ~+ g, u/ M; _
๔. วิมังสา ใช้ปัญญาพิจารณาให้เข้าใจ

! L1 O5 G" W9 A$ G( e % {: |' c; f4 U6 q
จรณะ ๑๕ ได้แก่( E. ^# t% o3 T/ H
๑.- l$ A% R' G3 s9 p7 N
๒.; h0 c) v, o6 Q2 Q
๓.6 y) f2 ]( `5 r4 S0 G! P+ t! i0 D- Y
๔.
/ V1 C: w1 U/ z, s* b% t9 K- X8 p๕.
4 i+ j8 G/ C: T0 f๖." j: n" z( X3 ?+ r
๗.0 @0 p: t5 _  e$ _" }* N
๘.
. ~! x  g/ e; t- U0 y6 ^$ {4 {* K๙.
; V8 Q/ A) P1 W* p3 G" p" K๑๐.6 s# S' d, A0 t# Q' s* n" c+ w
๑๑.
, I5 j2 f9 z% D๑๒.
) O% c: }6 B6 K& K" i๑๓.  T# h3 j% b9 d4 x
๑๔.
' S# T" V  e1 m) W" ^6 _9 A/ j๑๕.

7 t5 {7 |1 U, \0 A! @1 \$ l. w , ?, J1 g- s' L2 N( n: m
โพชฌงค์ ๗ ได้แก่# U3 J" S* x6 ?9 ]8 M- G
๑. ; H9 e: S& C5 z
๒.
! O0 ?; [1 _  C$ \9 o$ m๓.
: w, g3 n) N  A๔.
' e+ A) R% }' Y7 g๕., m  D' C- F3 K6 F/ _
๖.$ u0 x: T! Q! ]
๗.
5 l/ C+ s  ?; @& \4 \: l๘.
+ B; \) W( i- l4 W  ~- ?๙.
; B/ |# M2 i" h3 o4 _๑๐.

1 G% p  z0 n6 k
0 T0 _6 o% h9 e/ @จริต ๖1 b. N7 Q) U# Q# {" s8 |: D
๑.
4 [4 B+ w  e$ i; d2 }. u$ E3 O๒.
) v6 g" _# S" `8 P. B๓.
3 N# O4 _8 o7 y: z๔.
$ S  K- {/ B& G/ o% C  n2 U๕.
; ]2 T9 }/ d2 ?5 a6 j" G$ G๖.2 S* o' _, c# w3 b% ~8 t
๗.

* Q* a& _" ^& U( o0 a, L+ V1 x- [6 }# E5 V9 E/ [  K2 F6 k- g) b
ปลิโพธ ๑๐ (ความเป็นห่วง ความข้องในอารมณ์)8 [0 i" L$ Z/ y' F' N1 x
๑.
6 K2 ]3 s5 d/ Q! l/ Z0 M๒.& @$ k. x. q5 R" ^' J
๓.
$ t% {$ d/ b( D๔.& {4 Q& V9 Q, k+ d1 U3 N7 o/ `
๕.
  [* Q( i! w5 P3 L" g4 H  w' e$ H1 J๖.  i! O9 c: q2 X
๗., |6 r- r* W1 D2 v' y5 [# t
๘.
; }8 j+ l9 K/ y& g% j$ `4 j3 P: t๙.
, ~$ s- m8 Z; d- V+ I0 Q# ]๑๐.  M( i  E, ?( c: R6 F
$ ?2 _/ h9 U& y" e4 ]
‹ ก่อนหน้า|ถัดไป

สมาชิกที่เพิ่งอ่านหัวข้อนี้

คุณต้องเข้าสู่ระบบก่อนจึงจะสามารถตอบกลับ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

แดนนิพพาน ดอท คอม

GMT+7, 2024-11-28 03:37 , Processed in 0.049937 second(s), 14 queries .

Powered by Discuz! X1.5

© 2001-2010 Comsenz Inc. Thai Language by DiscuzThai! Team.