- สมัครสมาชิกเมื่อ
- 2009-1-20
- เข้าสู่ระบบล่าสุด
- 2017-1-4
- สิทธิ์ในการอ่าน
- 150
- เครดิต
- 0
- โพสต์
- 131
- สำคัญ
- 0
- UID
- 5
 
|
หลักสูตรปริบัติที่นักเรียนพลังจิต และนักเรียนอภิญญาทุกคนต้องศึกษา
1 ^# J- f% {2 x. J& h9 Z6 {$ j7 N5 @; I) l, a5 D
เพื่อในการปฏิบัติกัมมัฏฐานเป็นไปอย่างก้าวหน้า นักเรียนอภิญญาทุกคนจะต้องศึกษาหลักสูตรปริยัติให้เข้าใจเสียก่อน นักปฏิบัติที่เน้นแต่ปฏิบัติกรรมฐานอย่างเดียว จะเจริญก้าวหน้าในสมาธิได้ช้ากว่า นักปฏิบัติที่ศึกษาปริยัติมาจนเข้าใจแล้ว ค่อยมาเน้นการปฏิบัติกรรมฐานทีหลัง เหตุที่เป็นแบบนี้เพราะ การศึกษาปริยัติเปรียบเสมือนเป็นการศึกษาแผนที่นำทาง
& o M; v" O$ ~, Z
( l D' h# p7 l, _/ y9 z& J9 r# Zก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติ นักปฏิบัติควรทำความเข้าใจกับเส้นทางที่จะมุ่งไปเสียก่อน ควรรู้ล่วงหน้าว่าจะต้องพบเจอกับสิ่งใดข้างทางบ้าง สิ่งใดที่จะเป็นอุสรรคขัดขวางการเดินทาง และจะต้องผ่านด่านทดสอบจิตใจอะไรบ้าง
8 m% @) o% J, v6 u7 l" L6 T. H5 z6 {- }- p8 \* d& L9 r( k
แผนที่ปริยัติถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้นักปฏิบัติรู้เส้นทางที่จะไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตนมุ่งหวัง และรู้ถึงสิ่งที่ตนจะต้องประสบล่วงหน้า รู้ที่จะเตรียมใจที่จะต้องฝ่าฟันไปให้ได้ เพื่อให้ได้สำเร็จอภิญญา 5 และ 6 และบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด (เป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย หรือเส้นชัยของนักเรียนอภิญญาทุกคน)
9 u# v( k8 R. b# w# f/ Q: m
7 {( Z; y# b1 |- @) h4 D" c! {ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธคืออะไร?
( v! ]/ d W( ~& V6 i& j, C2 P* z4 s' h
' f6 C& \% I4 Y1 {5 o/ P" Pศีล ๕ ประกอบด้วย7 _2 g1 Y9 {- F1 a
๑. ไม่ฆ่าสัตว์
) P3 C l! m9 y6 a+ w# O๒. ไม่ลักทรัพย์0 e% t+ w# A& `
๓. ไม่ประพฤติผิดในกาม (ผิดลูก เมีย สามี คู่ครอง ของผู้อื่น)7 Z! e, P: @; G
๔. ไม่พูดโกหก
' Q( o% @! \# k# M8 K) Q๕. ไม่ดื่มสุราของมึนเมา8 o' {+ O( ~3 C( @( R8 i
; ?5 P- e8 j% Zศีล ๘ ประกอบด้วย
0 G3 ?9 v0 o8 Y( R, r๑. " `4 X( {( l4 I/ r! _, ^$ x
๒.
* a* B$ C) q$ }$ w0 y6 Y๓.
) h. W" {# N5 K7 B E7 E๔./ S5 l- k9 B+ V+ F% i7 t. b
๕.
8 p8 Q1 y+ G- P- t$ G๖.
# ^" v, C8 \% z3 }: G5 \! b" Q4 M+ y" Q๗.
" k2 C2 n0 `' f9 @8 \๘.
/ I1 n6 e8 [- }0 I$ f# j4 m$ q
! w0 `8 F' }! s" z; F# z9 i- นิวรณ์ ๕ (เครื่องกั้นขวางความดี)# p! B& E o+ H& L7 w
ผู้ที่สามารถเอาชนะนิวรณ์ ๕ ได้ คือผู้ที่ได้ปฐมฌานเป็นอย่างต่ำ หากขณะนั่งสมาธิ ไม่ว่าผู้ฝึกจะมีภาพร่างกายแบบไหน ง่วงมากๆ เพลียมากๆ ฟุ้งซ่านมากๆ หลังจากเริ่มนั่งสมาธิแล้ว อาการง่วง อาการโกรธ อาการฟุ้งซ่านไม่ปรากฏ นั้นถึงจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าผู้ฝึกกรรมฐาน ฝึกได้ปฐมฌานเป็นอย่างต่ำแล้ว- k8 O5 T4 c/ T: ~
* ?: r2 E6 F r+ f$ E4 I
กามฉันท์ คือ ความพึงพอใจในรูป รส กลิ่น เสียง โผฎฐัพพะ ธรรมารมณ์
" H: a y7 u1 F& Y& ?พยาบาท คือ การผูกใจเจ็บ หรือผูกอาฆาตผู้อื่น
5 Y5 |& |7 z, W6 h4 d+ Y, V% Rถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาหาวนอน
! V7 G, {2 P) G1 uอุทธัจจะ กุกกุจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน ความรำคาญ
; ~- }- d5 J: {% h, ~; o: i5 Nวิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัยในผลการปฏิบัติ
( l2 n2 ^5 h5 T5 o; V7 ^2 j& g/ z- q, ?
อุปกิเลส (เครื่องที่ทำให้จิตเศร้าหมอง ๑๖ ประการ)$ v2 x( h* |+ u
ผู้ที่สนใจการปฏิบัติทางจิต หรืออบรมสมาธิ ตามแนวของพระพุทธศาสนา ควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่จะนำมาซึ่งกิเลส หรือสิ่งที่ทำให้จิตใจตกต่ำ และเป็นเหตุทำให้
& x2 W& {4 \2 R( q. |* U2 dพลังจิตถดถอย หรือขุ่นมัว ฉะนั้นผู้ที่ปฏิบัติทุกท่านควรละทิ้ง หรือห่างไกลจากสิ่งเหล่านี้ แล้วท่านทั้งหลายจะพบกับความสุข ความเจริญก้าวหน้า% d. L' q6 x/ L& A
๑. อภิฌาวิสมโลภะ คิดอยากได้ทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน
; U2 D6 L# b# U* H1 G' |๒. พยาบาท (โทสะ) มีใจเดือดร้อน ความอาฆาต ผูกใจเจ็บคิดร้ายแก่ผู้อื่น2 b- G' M$ @" C/ \, R. V- I \. d
๓. โกธะ ความโกรธ อาการกำเริบพลุ่งขึ้นมาในใจ จากความไม่ชอบนั้นๆ แต่ยังไม่ถึงกับบันดาลโทสะ
$ T+ b4 Z2 k L0 |) N$ M* e" H, K, i1 F๔. อุปนาหะ ความผูกใจโกรธ เพียงแต่ผูกใจไม่ยอมลืม แต่ไม่ถึงกับคิดทำร้ายเขา เพราะกำลังของกิเลสยังอ่อนกว่าความโกรธ4 x O; s( t6 h! v
๕. มักขะ ความลบหลู่คุณท่าน คือ ใครมีบุณคุณกับเรา แล้วไม่คำนึงถึงคุณท่าน เป็นการลบล้างหรือปิดซ่อนคุณท่าน หรือความดีของท่าน2 X2 _9 H! r& U" H l9 Q* a
๖. ปลาสะ ความดีเสมอตัวท่าน เอาตัวเองเป็นใหญ่ แล้วไม่ย่อมให้ใครดีกว่าตน ข่มเหงรังแก
8 o/ F1 V; \) L$ l๗. อิสสา ความริษยา เห็นใครดีกว่าก็ทนไม่ได้ เกิดความขุ่นมัวในจิต กลั่นแกล้งเขาทำให้เสื่อมเสีย0 d' |1 W6 \5 W, B* ^
๘. มิจฉริยะ ความตระหนี่เกินกว่าปกติ ตระหนี่ในทรัพย์ ตระหนี่ในความรู้( [, `8 L, ^/ ]& G+ e4 r) ^
๙. มายา มารยาเจ้าเล่ห์ แสดงออกได้ทุกรูปแบบ หาความจริงไม่ได้ หรือแสดงออกให้คนอื่นหลงใหล6 p! o* ] Q( u* c" q- s7 l
๑๐. สาเถยยะ ความโอ้อวด หลอกหลวงเขา พูดจาเกินความจริง: k+ k& N p6 C9 J
๑๑. ถัมภะ ความเป็นคนหัวดื้อ รั้น กระด้าง หัวแข็ง ไม่ยอมคนทั้งผิดและถูก
$ v3 I4 N5 O# F) P- ~5 M$ [# ?๑๒. สารัมภะ ความแข่งดี ไม่ยอมลดละ มุ่งแต่จะเอาชนะฝ่ายเดียว ไม่ยอมแพ้
" V. B( F! s5 w$ b5 T3 M6 X๑๓. มานะ ความถือตัวทะนงตน. g" T) }! T" j" G* {
๑๔. อติมานะ ความถือตัวว่าดียิ่งกว่าเขา ดูหมิ่น ยกตนข่มท่าน! v/ o# \3 d5 }, b! y& s
๑๕. มทะ ความมัวเมาในกิเลส เช่นบ้ายศ บ้าอำนาจ บ้าเงิน บ้าสมบัติ หลงยึดติดกับสิ่งเหล่านั้น
7 {; ~+ r8 |1 V๑๖. ปมาทะ ความประมาทเลินเลิ่น ปล่อยสติให้คล้อยไปตามอำนาจของกิเลส จนได้รับทั้งความเสียหายต่อตนเอง และผู้อื่น นักปฏิบัติทุกท่าน / l" l4 C2 X+ {- p0 |4 T4 `
เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ควรหลักเลี่ยงให้ห่างไกล หรือสละสลัดสิ่งเหล่านี้ออกไปจากกายและใจ เมื่อท่านทั้งหลายสละละทิ้งได้จริง เมื่อนั้นความสุขจะเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
( h3 }6 ^" d$ `! Uและเป็นความสุขที่แท้จริง& S- O6 B \+ P- T4 W
7 r* m# s2 I( G+ |1 u6 E
อริยสัจ ๔ ได้แก่
. q+ D6 c7 r# [๑. ทุกข์ คือ การทนได้ยาก
* W% v) L7 ]: Q: @8 H๒. สมุทัย คือ เหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดทุกข์, y* t2 f# {- V0 p# k
๓. นิโรธ คือ การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงความดับทุกข์ โดยการจะดับทุกข์ได้นั้นต้องอาศัย...- r6 B8 d o" N8 z
๔. มรรคปฏิปทา มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น และมีสัมมาสมาธิเป็น ปริโยสาน
% d* f" Q" V5 m0 U7 {, Y: {4 n. @) T, H2 T+ g+ l9 r
กฏไตรลักษณ์ ๓ ข้อ คือ
; Q7 K1 r% M2 C, Q$ }' d๑. อนิจัง ร่างกายและทุกอย่างในโลกไม่เที่ยง
0 l8 |% Z: R9 h2 D8 v0 U๒. ทุกขัง ถ้าไปยึดมั่นก็เป็นทุกข์
( R( F* I6 H' c: ]0 Z; j2 }8 ~๓. อนัตตา ในที่สุดก็พัง+ c5 Q G* c1 g# ]
7 _# P& Z7 X; ~6 q
" U S# C5 \4 |* E% E. ^สังโยชน์ ๑๐
9 ]: B% x5 ]9 X! O$ z๑.
/ J% p }' m! q8 [: }, H- C& t๒.
, h3 ?+ g v) [ Z3 R, v6 b๓.
1 M: v* X! R0 F b๔. ' Z# O7 {- U" @2 v# N/ z; h6 J
๕. 7 `) ^2 @5 u. x* Z! w
๖.. E5 w) Y% M) |2 b
๗.
* S1 M- R$ e9 _๘.3 B8 W5 p: c1 s6 U' \7 |9 K* D
๙. " I* Y" ^4 U6 {" ]( }4 P) p& _. X
๑๐.
0 e8 C/ H! ]+ r& B' K
" s2 t" i/ T& sบารมี ๑๐
r9 N/ a7 T) a- `, a1 J๑.6 E# A4 s4 }0 ^2 k- S: J
๒.& F1 U6 b' B+ n% `" @4 y
๓.
% s9 o+ B ^8 m* f* l๔.
: E$ L( D& X+ O7 M/ f๕.# x: k; W; l1 J
๖.
. R/ N; B& ?/ f+ E( p๗.
3 \, N' ~: l) ?- q6 Z) ] b๘.
) d+ Q: b0 | S๙.; w# [% q& s6 I" x$ w
๑๐.
8 W4 P, l" J& _5 n, j& F- I
; o( k- v0 B' r2 f& N$ x- uสังขาร ๓ ได้แก่
8 i8 S" T7 L5 u' D" [
% j/ O" J/ i2 u" G' A, b6 [" F$ e/ H( A" g* {0 n$ h& ^% [8 s
' X4 z4 f+ z' F" j, k
, f/ j3 F9 k! |; b" ?, ~9 dกรรมฐาน ๔๐ กอง แบ่งเป็น ๗ กลุ่มประกอบด้วย
* o( V, D6 h! q- หมวดกสิน ๑๐ (๑-๑๐)
) e4 E' W7 O* o( i; m- หมวดอสุภกรรมฐาน (๑๑ - ๒๐)
* Z0 u6 Q9 Y) V, a, B- หมวดอนุสสติกัมมัฏฐาน ๑๐ (๒๑ - ๓๑)
1 A5 D* ]2 S: a& L1 P4 X+ p" O- หมวดจตุธาตุววัฏฐาน (๓๒)8 B6 G0 M/ u" @: X! s6 e% J
- พรหมวิหาร ๔ (๓๓ - ๓๖)+ P" J1 S# K* n5 F
- หมวดอรูปฌาน ๔ (๓๗ - ๔๐)
, `) p9 R* N$ [4 |, y9 {
` ~7 T1 b7 Q: G8 k) [ p, D8 ^' a- Mกามคุณทั้ง ๕ ได้แก่. T3 }, U7 X* v- f/ W' p
๑. ' f1 k# w( t7 I' b' D
๒. : C3 L/ L) y% ^
๓.. W: l- R% ?# p
๔.3 |% G5 ?7 j3 s$ D
๕. 0 ?7 k5 s% |. x8 |3 M' I) a
" ?+ v+ Q1 W2 {8 _กรรมฐาน ๔๐ กอง แบ่งเป็น ๔ หมวดได้แก่- p3 c3 w/ e! K4 C
๑. สุกขวิปัสสโก! a( [, k3 {- _! g
๒. เตวิชโช& K; z, M1 `1 e0 V" c3 B) L
๓. อภิญญาหก
- d' F# g U5 ?9 e๔. ปฏิสัมภิทาญาณ
+ P. w* Q2 m) ^8 _3 E4 P: j0 z- r% z! c2 i ^$ a2 t
ภวังค์ ๓ หรือสมาธิขั้นต้น ได้แก่
, n* z+ v2 V6 u) e7 F2 p๑.1 [3 h/ t- m: {, q
๒.- P" N: O- P, I. ~
๓.
6 w% P" T I. o7 A. P8 ?; n1 J4 r+ q3 y% ^; D/ e; {# Z: V5 n
รูปฌาน ๔ ได้แก่
$ G8 \/ o$ l/ d" Q' {4 o: [๑.
9 t0 ^- m$ R# x7 S& p๒.
# x/ B; x, V1 B) A8 N๓.
+ z. U+ I0 X# R9 L2 u4 F6 m! Z๔.
5 i/ z( b5 l8 @! Y. F
+ z* O3 X7 P( g1 [4 Z* h8 @- \อรูปฌาน ๔ ได้แก่
; O/ f7 d9 ?# l๑. ) G: N% y' |8 Q7 |
๒.& C' M# ]) n6 u
๓.% k8 b: b+ @0 O; n# S* }& T
๔.
' b# N$ e5 `6 R5 A& t' n
; d8 ^) r" A* ]) p# a* Oพิจารณาธาตุ ๔ ในร่างกายมนุษย์ อันได้แก่
: J5 [0 I7 x- d8 [5 C! t* G๑. ธาตุไฟ ๔
* ^- {1 M/ A) g: X4 ^8 v. F๒. ธาตุลม ๖4 G( P" H- y; j6 n$ \
๓. ธาตุน้ำ ๑๒
K7 i+ E/ Z7 @- }3 V4 X- i* v๔. ธาตุดิน ๒๐ 9 f9 Q# e8 Y( [; U" I8 {
- s2 {4 i9 O2 k4 \2 Xขันธ์ ๕ ได้แก่
. O' t, d; Z; ~ c0 k- @" r; x! ] C
|
|