- สมัครสมาชิกเมื่อ
- 2011-11-18
- เข้าสู่ระบบล่าสุด
- 2017-8-8
- สิทธิ์ในการอ่าน
- 10
- เครดิต
- 0
- โพสต์
- 40
- สำคัญ
- 0
- UID
- 9735

|
หลวงพ่อฤาษีลิงดำ . r* a; O4 _ R- T1 V2 M7 ?) @& G) N
เจ้ากรรมนายเวรหลวงพ่อครับ คำว่าเจ้ากรรมนายเวรนี่หมายถึงใครบ้างครับ...?
* }3 J/ H6 X& {% S; Q4 [5 m' U$ U+ }5 ] M5 X
เจ้ากรรมนายเวรนี่ตัวตนมันไม่มีหรอก
$ a# B1 [; x+ G9 L6 g9 k. r) X2 }& hมันเป็นเรื่องของกรรมที่เป็นอกุศลกรรม ที่เราทำไว้
# m* W t* V+ gตัวจริงที่เราเคยทำเขาไม่มายุ่งกับเราหรอก
) B8 Y3 ]7 d i' C$ V3 R' M9 }2 A1 r( @; }$ h0 P# }
อย่างเราฆ่าปลาตาย ปลาเขาก็ไม่มายุ่งกับเรา 9 g! q( \8 D- M2 a
แต่ปรากฏของกรรมมันเล่นงานเรา $ [, B' {. {8 o- b1 e
ถ้าปลานั่งจองเวรคอยลงโทษเราแกก็ไม่ต้องไปเกิดล่ะ5 ~9 r. D, ^$ X5 w9 q
% c B* s. H" P& N3 H
คำว่าเจ้ากรรมนายเวรนี่นะ ถ้าพูดตามส่วนตัวจะว่าไม่มีก็ไม่ได้
X5 [# G' u) M* u. O3 s' R3 T6 `' f5 p- G* p- B6 m
ถ้าหากเราฝึกขั้นสุกขวิปัสสโก เราจะบอกว่าไม่มีตัว เพราะไม่เคยเห็น
! ?( w* ~" W& F: z( p5 L: P0 Xแต่ว่าตั้งแต่ เตวิชโช ขึ้นไปเขาเห็น 3 o' k- D2 w! Q) z
ต้องพูดตามขั้นนะ ถ้าเราว่ากันตามหนังสือก็คิดว่าจะไม่มี
6 ?2 T# [8 n$ v, b' k1 B5 ~! @5 c0 L, |1 v2 y1 Z
......................
9 |3 ~( r$ y) T( N/ m
6 @ k* G. j; W2 H1 u Hแล้วถ้าเราอุทิศส่วนกุศลให้แก่เจ้ากรรมนายเวรเขาจะได้รับไหมคะ...?$ v u0 m% v. ^3 t. x
9 ^8 ~7 m0 [- b/ E* @
คือว่าอุทิศส่งไปให้เขาจะได้รับหรือไม่ได้ก็ตาม 2 P1 |1 [3 U: [& O# m" B
บุญที่เราทำเป็นผลให้เกิดความสุข
4 m* w( Z4 N9 K; m/ ]& d! oไอ้กรรมต่างๆ ที่เป็นอกุศลที่เราทำไปแล้ว เราไปยั้งมันไม่ได้ 8 N; v4 }' X/ Y3 C6 H
แต่ทว่าถ้าเราทำกรรมดีมีกำลังเหนือมันก็กวดไม่ทันเหมือนกัน' [. p9 R3 O; E' w1 F5 P. w
( u; u% V9 E; }$ i5 u+ O' ^2 @; d# X
สำหรับคำอุทิศส่วนกุศลที่ใช้อยู่เดียวนี้ยาวเหมือนกันแต่ยาวตามที่ท่านบอก2 s( l1 V5 ]# ^) `' `
บทอุทิศส่วนกุศลท่อนแรก ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรนั่น หลวงพ่อปู่โต มาบอก' q: v5 }4 v: Y+ y
แล้วก็บทอุทิศส่วนกุศลอีก 3 ท่อน พระยายมราช มาบอก( T: H {% |, ^7 J. @
2 a# T2 [2 J# a$ Y8 p
สำหรับตอนที่สองให้โมทนา
" k$ p, ~1 U- i- Kท่านบอกว่าเวลาอุทิศอุทิศส่วนกุศลน่ะ ขอบอกให้ผมเป็นพยานด้วย
$ i! i) b* F* |! y& o$ {7 o* o. T1 Oท่านบอกว่าลูกหลานของท่าน ก็คือลูกหลานของผม และมันก็ไม่แน่นักหรอก
x6 b8 r6 X: W/ aบางทีไปอยู่สำนักผมมันอาจจะลืมก็ได้ เขาอาจจะนึกถึงบุญไม่ออก
# {/ d4 g' x2 v9 z3 xถ้านึกถึงบุญไม่ออก ถ้านึกไม่ออกก็มีความจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องปล่อยให้ตกนรก
& m: e! e2 v! B3 Gหากว่าถาม 3 เที่ยวนึกไม่ออก
8 [9 G0 U/ C# `; ^! m, ]2 C: D$ Zผมจะได้ประกาศว่า นี่เขาเคยบอกฉันไว้ เวลาทำบุญเขาบอกให้ฉันเป็นพยาน 3 u: o: ~! Y! N/ @: Y: z' [
แล้วก็ประกาศกุศลนั้น ก็ได้ไปสวรรค์
) L; W- O; {* M) e# p9 v! Q+ G$ v7 r; h6 \# T: \/ Y6 s
นายเวร
" ~, T% f5 l' D6 zเรื่องมันมีอยู่ อย่างพระถูกหอกตาย เรื่องนี้มีอยู่ในพระสูตร คือว่ามันมีอยู่ว่า
3 N* B2 S& P; v. hพระองค์ ท่านกำลังเย็บจีวร เย็บไปๆ ไอ้ตัวเรือดมันอยู่ในตะเข็บจีวร ท่านไม่เห็น
" K* |/ C- _0 Q! ]) x! V3 X( eเข็มก็ไปทิ่มเรือดตาย อย่างนี้ถือว่าเป็นบาปลงนรกไม่ได้ เพราะเจตนาไม่มี ไม่รู้ว่าอยู่ ใช่ไหม# r6 r7 w3 a) K% b0 L9 z/ L
G- c! K9 P5 Y3 q7 _! |9 M, u0 I
แต่ก็เป็นบังเอิญเมื่อต่างคนต่างตาย เจ้าเรือดก็ตายไปก่อน พระก็อยู่นานไม่ได้หรอกนะ ; `" _- u3 o( u0 y8 M' x b
ไปเกิดชาติหลังเป็นคนด้วยกันทั้งคู่
+ w7 J- @. C. _ Q& L- K& X3 s( aเจ้าเรือดไปเกิดเป็นนายพรานป่าฆ่าเนื้อ พระก็ไปเกิดเป็นคน แต่ว่าบวชพระ
. \- g; A5 ~' @7 ^
( ?$ c. V2 V6 N; t, ^ต่อมาวันหนึ่ง พระเดินสวนทางมาเจอนายพราน เห็นพรานถือหอกเกาะกะๆ
. W$ x! m1 Y1 l4 t' k7 I7 Xท่านก็นึกหวาดเสียว ดีไม่ดีแกบ้าๆ บวมๆ จิ้มตาย ใช่ไหม ก็เลยหลบเข้าพุ่มไม้% O1 X- f2 N- W3 @* K, v6 A
พรานแกฆ่าสัตว์ก็จริงแต่จิตแกก็ดี ถือว่าพระเป็นพระ แกเดินมาเข้าไปนึก2 S5 Z D# i9 J( a: D! m+ L$ R
เอ๊ะ...พระนี่น่าจะสวนกับเราตอนนี้ เวลานี้ท่านไปไหน * y( b2 h0 S6 X
หรือบางทีท่านเห็นเราถือหอกเดินมาท่านจะกลัวเรามั้ง ไอ้หอกจัญไร # v/ n0 N; J- t! i8 e
พุ่งไว้ตรงนี้ก่อน เลยพุ่งหอกเข้าไปในพุ่มไม้ แล้วเดินไปมือเปล่าไป
6 K' n3 ?1 i$ b" ^* @" Q3 sไอ้หอกระยำดันจิ้มมาที่อกพระพอดี3 F3 u( c' g$ P2 F i" {4 }9 A
นี่ไอ้นี่จะถือว่าเป็นกรรมไม่ได้ ต้องถือว่าเป็นเวร * [1 }$ m7 O7 \% j
ถ้ากรรมก็ดึงลงอบายภูมิ นี่เป็นเวรมาสนองกัน
" c# E' D6 C/ G# ^! [* W* K% }0 E% ^$ z: {( [# k3 R. H- `/ x
โดย ...หลวงพ่อฤาษีลิงดำ หนังสืออุทิศส่วนกุศล |
|